20790 : โครงการการให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐานในงานเกษตรแม่โจ้ 90 ปี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางกชนก ราชเมืองมูล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
30/10/2566  ถึง  31/01/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  400  คน
รายละเอียด  -ผู้เข้าร่วมงานวันเกษตรแม่โจ้ 90 ปี
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน คณะผลิตกรรมการเกษตร เงินรายได้ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการ "การให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐานในงานเกษตรแม่โจ้ 90 ปี" 2567 50,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน คณะผลิตกรรมการเกษตร เงินรายได้ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการ "การให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐานในงานเกษตรแม่โจ้ 90 ปี 2567 37,120.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วาริน  สุทนต์
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์  โทณลักษณ์
นาง กชนก  ราชเมืองมูล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
นาง อารีรักษ์  วิชัยศรี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.4 ความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.4.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ธรรมชาติบำบัดและการแพทย์แผนไทยภาพรวมของมหาวิทยาลัย
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67 AP 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (ุมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University) (Go. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67 AP 1.2.4 ความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทย
กลยุทธ์ 67 AP 1.2.4.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ธรรมชาติบำบัดและการแพทย์แผนไทยภาพรวมของมหาวิทยาลัย
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.1.2 ส่งเสริมและผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

“สมุนไพรไทย” มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานควบคู่สังคมไทย นับตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นเป็นส่วนประกอบในอาหารคาว-หวาน เป็นยารักษาโรคใช้ในการดูแลสุขภาพ และยาอายุวัฒนะ กระทั่งการเสริมความงาม ภูมิปัญญาเหล่านี้ได้รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนาต่อเนื่อง สร้างคุณค่า และมูลค่าให้แก่่สมุนไพรไทย จนถึงปัจจุบัน การจัดกิจกรรมการให้บริการวิชาการ และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐาน ในงานเกษตรแม่โจ้ 90 ปี ระหว่างวันที่ 16-24 ธันวาคม 2566 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเผยแพร่ องค์ความรู้ ภูมิปัญญาเกี่ยวกับสมุนไพรและแพทย์แผนไทย สู่ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้ประโยชน์ในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง และเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาที่ดีงามเกี่ยวกับสมุนไพร และแพทย์แผนไทย ผลของกิจกรรมจะนำมาสู่ความมั่นคงทางสุขภาพ และความยั่งยืนของเศรษฐกิจไทยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมเผยแพร่ องค์ความรู้ ภูมิปัญญาเกี่ยวกับสมุนไพรและแพทย์แผนไทย สู่ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง
เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาที่ดีงามเกี่ยวกับสมุนไพร และแพทย์แผนไทย
เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านแพทย์แผนไทย ในการเตรียมความพร้อมต่อการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐานในงานเกษตรแม่โจ้ 90
KPI 1 : จำนวนความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เป้าหมาย 2
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของโครงการ/กิจกรรมตามงบประมาณที่จัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
87120 บาท 87120
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
400 คน 400
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีพื้นฐานในงานเกษตรแม่โจ้ 90
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมบริการคลินิกแพทย์แผนไทยเฉพาะ ทางและหัตถการทางแพทย์แผนไทย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/12/2566 - 24/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วาริน  สุทนต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เทิดศักดิ์  โทณลักษณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางกชนก  ราชเมืองมูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินงานโครงการเพื่อเตรียมงาน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการเตรียมสถานที่ เป็นเงิน 1,210 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,210.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,210.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5210.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมระยะสั้น (อบรมเชิงปฏิบัติการ) เกี่ยวกับแพทย์แผนไทยและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/12/2566 - 24/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วาริน  สุทนต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เทิดศักดิ์  โทณลักษณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางกชนก  ราชเมืองมูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ เป็นเงิน 4,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการติดตั้งและมุงสะแลนเพื่อพรางแสงบริเวณฝึกอบรมด้านข้างอาคารศูนย์กล้วยไม้ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 2,660 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,660.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,660.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ฝึกอบรมแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรและหัตถการแพทย์แผนไทย เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31910.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การเสวนาทางวิชาการด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/12/2566 - 24/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วาริน  สุทนต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เทิดศักดิ์  โทณลักษณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางกชนก  ราชเมืองมูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ (ค่าเดินทาง) ของวิทยากร เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ การลงทะเบียน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอกและภาคเอกชน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการสมุนไพร ในรายวิชา วส 471 สมุนไพรเพื่อเภสัชกรรม เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการฝึกอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร การศึกษาเรียนรู้และช่วยงานในการให้บริการหัตถการด้านการแพทย์แผนไทยในกิจกรรมโครงการ การเข้าร่วมการรับฟังการเสวนาทางวิชาการ
ช่วงเวลา : 30/10/2566 - 31/01/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล