20780 : โครงการ "การผลิตสารควบคุมและกำจัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2566 22:59:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบจาก อพสธ. 2567 186,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ปิยนุช  จันทรัมพร
อาจารย์ ประสาทพร  กออวยชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO.Eco U.)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 3. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตัวแทนเกษตรกรจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมังคุดคุณภาพกลุ่มร่วมใจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เข้ามาขอให้อาจารย์ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ช่วยแก้ปัญหาการระบาดของโรคและแมลงในแปลงปลูกผักอินทรีย์ ซึ่งเกษตรกรในกลุ่มนี้จะใช้เวลานอกเหนือจากการผลิตมังคุดมาปลูกผักอินทรีย์หลากหลายชนิดเพื่อเพิ่มรายได้ ในเบื้องต้นทางสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช โดยหน่วยงานฐานการเรียนรู้การผลิตสารชีวภัณฑ์ได้แนะนำและให้ผลิตภัณฑ์ ได้แก่เชื้อไตรโคเดอร์มาแบบแห้งเพื่อใช้ควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าและโรคใบจุดใบไหม้ในผัก และเชื้อเมธาไรเซียมเพื่อให้ในการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชนั้น หลังจากตัวแทนของกลุ่มนำผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ไปใช้ พบว่า สามารถใช้ป้องกันโรคและแมลงที่เกิดขึ้นในแปลงผักได้อย่างดีเยี่ยม ดังนั้น จึงได้ร้องขอให้ทางสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จัดฝึกอบรมในเรื่อง การผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มาและเมธาไรเซียมเพื่อใช้ป้องกันและกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช แก่สมาชิกของกลุ่มประมาณ 60 คน ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมังคุดคุณภาพกลุ่มร่วมใจ จากการจัดฝึกอบรมในครั้งนั้น เกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมังคุดคุณภาพกลุ่มร่วมใจ ได้ขอให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หาวิธีการนำเปลือกมังคุดซึ่งมีอยู่อย่างมากมายในพื้นที่ไปใช้ประโยชน์ เพราะการซื้อขายมังคุดในอนาคตมีแนวโน้มว่าทางผู้รับซื้อจะคัดเอาเฉพาะส่วนของเนื้อมังคุดไปและจะทิ้งเปลือกมังคุดไว้ในจำนวนมหาศาล ทางคณาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชมีองค์ความรู้ในการสกัดสารจากเปลือกมังคุดเพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคในสวนทุเรียน นอกจากนี้ยังสามารถสกัดสารจากเปลือกต้นเคี่ยมเพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าและโรคแอนแทรคโนสในทุเรียน เพราะในพื้นที่มีต้นเคี่ยมอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นจึงได้รับปากกับกลุ่มเกษตรกรว่าจะได้จัดให้มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสกัดสารจากเปลือกมังคุดและเปลือกต้นเคี่ยมเพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคพืช และในอนาคตจะส่งเสริมให้ผลิตสารควบคุมและกำจัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุดในเชิงการค้าของกลุ่ม เกิดการใช้ประโยชน์จากวัสดุพืชที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ลดการใช้สารเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิตพืชในระบบเกษตรกรอินทรีย์ รองรับการผลิตพืชอย่างมั่นคง ยั่งยืน ลดการใช้สารเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร และสิ่งแวดล้อม เกษตรกรมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ผลิตสารควบคุมและกำจัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด
ใช้ประโยชน์จากวัสดุพืชที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
ลดการใช้สารเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร และสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ลิตร 200
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
186300 บาท 186300
KPI 5 : ความสามารถของผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด
ชื่อกิจกรรม :
1 การผลิตสารป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
1 เอทิลแอลกอฮอร์ จำนวน 20 แกลลอนๆละ 2,000 บาท เป็นเงิน 40000 บาท
2 แกลลอนพร้อมฝาปิดขนาด 1 ลิตร จำนวน 200 ใบๆละ 20 บาท เป็นเงิน 4000 บาท
3 ขวดรูปชมพู่ขนาด 1000 มล. จำนวน 10 ขวดๆ 500 บาท เป็นเงิน 5000 บาท
4. ขวดรูปชมพู่ขนาด 600 มล. จำนวน 10 ขวดๆ 350 บาท เป็นเงิน 3500 บาท
5. ขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มล. จำนวน 10 ขวดๆ 200 บาท เป็นเงิน 2000 บาท
6. บีกเกอร์ขนาด 1000 มล. จำนวน 10 ใบๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 5000 บาท
7. บีกเกอร์ขนาด 500 มล. จำนวน 10 ใบๆ ละ 350 บาท เป็นเงิน 3500 บาท
8 บีกเกอร์ขนาด 250 มล. จำนวน 10 ใบๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 2000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 65,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- 1. เปลือกเคี่ยม จำนวน 100 กิโลกรัมๆละ 200 บาท เป็นเงิน 20000 บาท
- 2. เปลือกมังคุด จำนวน 100 กิโลกรัมๆละ 200 บาท เป็นเงิน 20000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 105000.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การทดสอบผลิตภัณฑ์ป้องกันและจำกัดโรคพืชจากเปลือกต้นเคี่ยมและเปลือกมังคุด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
1. อาหารเลี้ยงเชื้อ จำนวน 10 ขวดๆละ 3000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
2. จานเลี้ยงเชื้อพร้อมฝาปิด จำนวน 200 จานๆละ 100 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
ชื่อกิจกรรม :
3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
1. หมึกกันน้ำ จำนวน 4 สีๆละ 10 ขวดๆละ 250 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
กระดาษสติกเกอร์ จำนวน 10 ห่อๆละ 310 บาท เป็นเงิน 3100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13100.00
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,ุ500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ในช่วงที่ทำโครงการ มังคุดไม่มีผลผลิต
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ใช้ผงเปลือกมังคุดแทน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การใช้สารสกัดจากพืชป้องกันกำจัดโรคพืช ปีงบประมาณ 2567
ช่วงเวลา : 01/02/2567 - 31/08/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล