20776 : โครงการ "สารสกัดจากเสม็ดขาวร่วมกับสารสกัดสมุนไพรไทยเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สารสกัดจากพืชควบคุมแมลง ศัตรูพืชบางชนิด"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์พัชรินทร์ วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/11/2566 14:34:01
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
06/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา และเยาวชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ 2567 128,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วชิระ  ชุ่มมงคล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันกระแสสังคมให้ความสำคัญกับการทำเกษตรสุขภาวะเพิ่มมากขึ้น (Well-being) จึงเริ่มหันมาปลูกผักสวนครัวและการรับประทานพืชผักปลอดภัย เพื่อหลีกเลี่ยง ลด ละ การใช้สารเคมีสังเคราะห์ โดยเฉพาะการนำสารสกัดจากพืชสมุนไพร (plant extract) มาใช้กำจัดแมลงศัตรูพืช เนื่องจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรส่วนใหญ่มีฤทธิ์อ่อน สลายตัวได้ง่ายไม่ก่อให้เกิดพิษต่อคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งสมุนไพรในท้องถิ่นที่พบมากในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และพื้นที่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัย ที่มีคุณสมบัติสามารถใช้เป็นสารสกัดจากพืชในการควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ คือ ต้นเสม็ดขาว หรือ Cajuput tree (Melaleuca cajeputi) เป็นพืชในวงศ์ (Myrtaceace) เป็นไม้ท้องถิ่นที่ เจริญเติบโตได้ดีในดินหลายสภาพ และเกือบทุกส่วนของต้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ มีรายงานการการศึกษาการใช้สารสกัดจากใบเสม็ดขาวที่สกัดด้วยเอทานอล พบมีประสิทธิภาพในการฆ่าแมลง และไล่แมลง ได้แก่ มอดแป้ง ด้วงงวงข้าวโพด ด้วงถั่วเขียว หนอนใยผัก หนอนกระทู้ผัก และหนอนกระทู้หอม (นฤมล, 2546) สารสกัดหยาบใบเสม็ดขาวสามารถยับยั้งการกินของหนอนใยผัก ควบคุมการวางไข่ของด้วงถั่วเขียวได้ (สมชัย, 2538) และจากที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในระหว่างปี พ.ศ.2560-2564 ที่ได้ทำการศึกษาพืชเสม็ดขาว โดยนำสารสกัดจากส่วนใบแก่ของเสม็ดขาวที่สกัดด้วยเอทานอลมาทดสอบในการไล่หนอนกระทู้ หนอนใยผักจากพืชผักสวนครัวที่ปลูกบนแปลงดิน พบว่าสามารถไล่หนอนผักได้ในทุกระดับความเข้มข้นที่ทำการทดสอบ และเมื่อนำสารสกัดหยาบจากใบเม็ดขาวตรวจวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมีด้วย GC-MS พบว่าองค์ประกอบของสารออกฤทธิ์ (Bioactivity) ได้แก่ Spathulenol, Caryophyllene oxide, β-Selinene และสารอื่นๆ ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารชนิดเดียวกับที่มีรายงานการศึกษาสารบางชนิดที่พบในผกากรองที่มีคุณสมบัติในการเป็นสารฆ่า สารไล่ สารยับยั้งการกิน สารยับยั้งการวางไข่ ของแมลงศัตรูพืชได้ (Murugesan et al, 1012) ส่วนองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากใบเสม็ดขาว ด้วย GC-MS พบสารมีที่มีฤทธิ์ต่อแมลงได้เช่นกัน ได้แก่ β-Phellandrene, Germacrene D และ Copaene ซึ่งจะเห็นได้ว่าฤทธิ์ทางชีวภาพของสารจากทั้งส่วนสารสกัดและน้ำมันหอมระเหยจากใบเสม็ดขาวสามารถใช้เป็นสารสกัดควบคุมแมลงศัตรูพืชบางชนิดได้ จากการนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาสารสกัดจากส่วนใบของต้นเสม็ดขาว ในรูปแบบน้ำมันหอมระเหย และสารสกัดหยาบ มาบริการวิชาการใช้กับชุมชนหมู่ 7 บ้านเขาชวาลา (พื้นที่ใกล้มหาวิทยาลัยในรัศที 50 กิโลเมตร) พบว่านอกจากเสม็ดขาวแล้ว ยังมีพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการไล่ กำจัดแลมงศัตรูพืชหรือไข่หนอนบางชนิดได้ เช่น ต้นหนอนตายอยาก พบมีสารอัลคาลอยด์ที่มีคุณสมบัติในการฆ่าแมลง ได้แก่ stemonine, stemonal และ stemonone (นิจศิริ, 2534) มีรายงานการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากรากหนอนตายอยากที่สกัดด้วยเอทานอลสามารถควบคุมตัวอ่อนแมลงวันได้ (ชัยพร, 2548) ดังนั้นเพื่อให้การศึกษาสารจากต้นเสม็ดขาว การศึกษาวิเคราะห์หาปริมาณสารที่มีสมับติกำจัดแมลงศัตรูพืชด้วยเครื่องวิเคราะห์ขั้นสูง มีความต่อเนื่อง และใช้เทคนิคทางเคมีมากสกัดสารจากสมุนไพรไทย สมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้เป็นสารสกัดร่วมเพื่อเสริมฤทธิ์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นจึงน่าสนใจทำการศึกษา รวมทั้งเพื่อให้คนในชุมชนที่มีต้นเสม็ดขาว ได้ปกป้อง ฟื้นฟูและเพิ่มขีดความสามารของชุมชนในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ต้นเสม็ดขาวอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อนำสารสกัดจากสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืชบางชนิดมาใช้ประโยชน์ร่วมกับสารสกัดจากเสม็ดขาว
เพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากต้นเสม็ดขาวที่มีในพื้นที่ป่าอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และป่าพรุคันธุลี ให้มีความยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้ความเข้มข้นของสารสกัดใบเสม็ดขาวร่วมกับสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่นในการควบคุมแมลงศัตรูพืชบางชนิด
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายตลอดทั้งโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
128000 บาท 128000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้ความเข้มข้นของสารสกัดใบเสม็ดขาวร่วมกับสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่นในการควบคุมแมลงศัตรูพืชบางชนิด
ชื่อกิจกรรม :
สารสกัดเสม็ดขาวร่วมกับสารสกัดสมุนไพรไทยและผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ เตรียมตัวอย่างพืชสด ทำแห้ง บดพืช จำนวน 1 งาน ๆ ละ 14,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ วิเคราะห์ตัวอย่าง ด้วยเครื่องวิเคราะห์ขั้นสูงจำนวน 1 งาน ๆ ละ 10,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการออกแบบฉลาก แผ่นป้ายผลิตภัณฑ์ และขวดบรรจุภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล จำนวน 1 งาน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำรูปเล่มรายงานโครงการ เป็นเงิน 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ (ทดสอบตัวอย่างสารสกัดกับผักสวนครัว) จำนวน 1 งาน ๆ ละ 10,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,000.00 บาท 6,500.00 บาท 4,500.00 บาท 3,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน เป็นเงิน 5,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 5,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กระดาษชำระ น้ำยาทำความสะอาด ฟลอยด์ กล่องพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ซองเอกสาร ปากกา กระดาษA4 เทปกาว แฟ้มใส่เอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ตัวทำละลายอินทรีย์ กระดาษกรอง หน้ากากพร้อมตัวกรอง ถุงมือยาง ฯลฯ เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 28,000.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 114200.00
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมและบูรณาการการเรียนการสอน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 22 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 3,520 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,520.00 บาท 3,520.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 22 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,080 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,080.00 บาท 3,080.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 4 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขั้นตอนการสั่งซื้อสารเคมี สารมาตรฐานบางชนิดอาจใช้เวลานาน และขั้นตอนการสั่งสารตัวอย่างตรวจวิเคราะห์สารตัวอย่าง GC-MS และ/หรือ HPLC หรือเครื่องวิเคราะห์ขั้นสูง อาจรอคิววิเคราะห์ใช้ระยะเวลานาน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เมื่อทราบผลโครงการ ติดต่อสั่งซื้อสารมาตรฐานล่วงหน้า และวางแผน ปรับแผนงานเพื่อประสานขอใบเสนอราคาและจองคิวในการวิเคราะห์ล่วงหน้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย02 อพ.สธ.พัชรินทร์2567
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
สารสำคัญเกี่ยวกับสมุนไพร วิธีการสกัดสารสำคัญจากพืชบางชนิด ด้วยเทคนิคที่เหมาะสม ในวิชาเคมีอินทรีย์ และ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ในรายวิชาชีวเคมีเพื่อการเกษตร
ช่วงเวลา : 20/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล