20775 : โครงการ "การศึกษากระบวนการเตรียมและสารสำคัญในแป้งจากกล้วยหอมทองดิบคัดทิ้ง สำหรับผลิตโพรไบโอติกเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นักศึกษาและผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
อาจารย์ ปณิดา  กันถาด
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการส่งเสริมการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง พระราชกรณียกิจของพระองค์ที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ราษฎรนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับทางด้านการเกษตร และการชลประทาน เนื่องจากพระองค์ทรงเห็นว่าราษฎรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร และค่อนข้างอยู่ในฐานะยากจน พระองค์จึงทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม และช่วยเหลือกิจกรรมเกี่ยวกับการเกษตรของชาติเป็นสำคัญ ราษฎรไทยจึงพร้อมใจกันถวายพระเกียรติว่า “ กษัตริย์เกษตร ” ปัญหาด้านความเดือดร้อนของราษฎรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรเห็นส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเกษตร ซึ่งเป็นเส้นเลือดใหญ่ของเศรษฐกิจในประเทศ จึงทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการส่งเสริมและพัฒนาด้านเกษตรกรรมในทุกแขนงอย่างจริงจัง มาใช้กับกิจกรรมด้านการเกษตรและปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรอย่างถูกต้องสมบูรณ์และครบวงจรทุกขั้นทุกตอน โดยพระองค์ทรงเน้นให้ราษฎรได้มีความรู้ความเข้าใจต่อวิธีการต่างๆในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์แต่ละชนิด แต่ละฤดู แต่ละภาค แต่ละจังหวัด อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการสมัยใหม่พอที่ราษฎรสามารถที่จะรับได้ และไปดำเนินการเองได้โดยมีราคาถูกเพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ให้กับตนเอง ซึ่งในระยะหลังๆนี้ก็ทรงตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาขึ้นในภูมิภาคต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งที่จะเสริมสร้างความรู้และการปฏิบัติตามกรรมวีธีแผนใหม่เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่และให้ความรู้ความเข้าใจแก่ราษฎรโดยทั่วไป การผลิตกล้วยหอมทองเป็นสินค้าการเกษตรที่มีความสำคัญและกำลังได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน ซึ่งในความเป็นจริงแล้วจังหวัดชุมพรเป็นจังหวัดที่มีประวัติการปลูกกล้วยหอมทองปลอดภัยอย่างยาวนาน ซึ่งตลาดของกล้วยหอมทองในเขตภาคใต้แบ่งออกเป็นหลายระดับ ตั้งแต่การปลูกแบบกลุ่มเพื่อการส่งออก การปลูกปลอดภัยเพื่อส่งขายเพื่อการค้าปลีกในห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อ ขายส่งตลาดผลไม้และการขายในท้องถิ่น ซึ่งมีปริมาณสูงมากในแต่ละเดือน (ข้อมูลจากสหกรณ์ทั้งหมดรวมกัน) ซึ่งสร้างความมั่นคงทั้งด้านเศรษฐกิจให้กับชุมพรเป็นอย่างมาก นับเป็นเวลานานมากกว่า 10 ปี ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีส่วนร่วมในการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการผลิตกล้วยหอมทองจะเป็นที่ยอมรับขององค์กรที่ปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการค้า ทั้งการส่งออกและการค้าภายในประเทศ สามารถยกระดับมาตรฐานการผลิตที่เกิดขึ้นจาก ปี พ.ศ.2552 มีจำนวน 2 องค์กรผู้ปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออก เพิ่มขึ้นเป็น 9 องค์กรและได้เข้าร่วมกันเป็น เครือข่ายผู้ปลูกกล้วยหอมทองภาคใต้ (ค.ก.ต.) ในปี พ.ศ.2559 ทั้งนี้ในกระบวนการเตรียมกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออกจะมีกล้วยไม่ได้ขนาดตามมาตรฐานและต้องคัดทิ้งอยู่จำนวนหนึ่งที่นับเป็นของเหลือทิ้งที่น่าจะสามารถทำมาเพิ่มมูลค่าให้เกิดเป็น “แป้งกล้วย” เพื่อนำไปเป็นสารเสริมในกระบวนการผลิตโพรไบโอติกสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้ ดังนั้น การศึกษากระบวนการเตรียมและสารสำคัญในแป้งจากกล้วยหอมทองดิบคัดทิ้ง สำหรับผลิตโพรไบโอติกเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ซึ่งเป็นการศึกษาผลของการเตรียมเปลือกกล้วยหอมทองดิบ เพื่อหาวิธีเตรียมเปลือกกล้วยหอมทองดิบที่เหมาะสมในการผลิตผงแทนนินจากเปลือกกล้วย หากโครงการนี้เกิดขึ้นได้ก็จะเป็นการลดปริมาณของเหลือทิ้งจากวัสดุเศษเหลือจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วย พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น และลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างองค์ความรู้ เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลทางด้านการแก้ปัญหาคุณภาพน้ำที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแก่เกษตรกร ลดการใช้สารเคมี ลดต้นทุน ส่งผลให้เกิดผลดีต่อสภาพแวดล้อมในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อศึกษากระบวนการเตรียมแป้งกล้วยจากกล้วยหอมทองดิบคัดทิ้ง สำหรับนำไปผลิตโพรไบโอติกที่เหมาะสม
เพื่อศึกษากระบวนการเตรียมผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกจากแป้งกล้วยหอมทองสำหรับใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเตรียมแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้งอย่างน้อย 4 ปัจจัย
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.2 ล้านบาท 0.2
KPI 2 : ฐานข้อมูลปริมาณแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้งจากการส่งออก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเตรียมแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 2 ปัจจัย 4
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเตรียมแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้งอย่างน้อย 4 ปัจจัย
ชื่อกิจกรรม :
การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเตรียมแป้งจากกล้วยหอมทองคัดทิ้ง ส่งเสริมประชาสัมพันธ์วิธีการการเตรียมแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้ง และจัดทำฐานข้อมูล เพื่อวางแผน จัดเก็บ รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับจัดทำฐานข้อมูลปริมาณแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้งจากการส่งออก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำฐานข้อมูล เพื่อวางแผน จัดเก็บ รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับจัดทำฐานข้อมูลปริมาณแป้งจากเศษเหลือกล้วยหอมทองคัดทิ้งจากการส่งออก จำนวน 1 งาน ๆ ละ 40,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ตาข่ายพรางแสง ผ้าใบพลาสติก เชือกไนลอนฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกาเพอร์มาแนน ดินสอ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น น้ำยาล้างจาน ถุงขยะแบบหนา กะละมังสแตนเลส ถุงมือ กระดาษอเนกประสงค์แบบม้วน ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่นซีดี เม้าส์ ฯลฯ เป็นเงิน 26,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 26,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
สารเคมี วัคซีน สมุนไพร และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการรักษาโรค รายวิชา พช351 โรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/04/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ผลของสารโพรไบโอติกจากแป้งกล้วยต่อการเจริญเติบโตและทนทานต่อความเครียดของปลากะพงขาว
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 31/12/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล