20759 : โครงการส่งเสริมนวัตกรรมทุนวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.กัลย์ชิสา นามวงศ์พรหม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/12/2566  ถึง  30/06/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  240  คน
รายละเอียด  บุคลากร จำนวน 30 คน นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร จำนวน 100 คน นักศึกษานอกคณะผลิตกรรมการเกษตร จำนวน 100 คน ผู้สนใจภายนอก 10 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง:แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต:ผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมหลักส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 โครงการส่งเสริมนวัตกรรมทุนวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น 2567 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ
น.ส. กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรนุช  เจริญกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.2 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ให้น่าสนใจและทันสมัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 67 AP 2.4.1 จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมที่บุรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67 AP 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมนักศึกษาด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตรและมีการบูรณาการกับการเรียนการสอน และการวิจัย
ตัวชี้วัด 67 AP 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67 AP 2.4.2.1 พัฒนาแผน รูปแบบโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมให้มีความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย/คณะโดยมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ และทันสมัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ข้าวเป็นพืชอาหารหลักของคนไทยมาอย่างยาวนาน ข้าวไทยมีความหลากหลายของสายพันธุ์ ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้ในนิเวศที่หลากหลาย ตั้งแต่บนดอยสูงที่มีอุณหภูมิต่ำ น้ำน้อย ไปจนถึงพื้นที่น้ำท่วมลึก ทำให้ข้าวไทยมีทั้งความสามารถในการเจริญเติบโต การให้ผลผลิต รวมถึงคุณภาพในการบริโภคที่แตกต่างกัน ด้านคุณภาพข้าว ข้าวไทยมีคุณภาพทั้งแบบที่เป็นข้าวเหนียว และข้าวเจ้า คนไทยบริโภคข้าวทั้งสองประเภท แต่ด้วยความนิยม ความคุ้นชิน ทำให้แต่ละพื้นที่มีการนำข้าวมาบริโภคในรูปแบบที่หลากหลาย รวมถึงภูมิปัญญาและวิถีชีวิต ความเชื่อต่าง ๆ ทำให้มีการนำข้าวที่หลากหลายสายพันธุ์นี้มาทำเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวทั้งเป็นอาหารคาวหวาน เครื่องดื่ม เครื่องปรุง เป็นยา เป็นเครื่องสำอางค์ สำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวในปัจจุบันมีทั้งองค์ความรู้ที่ได้รับมาจากภูมิปัญญา และการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม จนทำให้พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ข้าวได้หลากหลายมากขึ้น นวัตกรรมและเทคโนโลยี เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สำคัญเช่นกัน ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการประกวดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวจากนวัตกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงจะเป็นการนำศาสตร์ ภูมิปัญญา หลักวิชาการ นวัตกรรม และเทคโนโยลีต่าง ๆ มาพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว การนำเสนอที่สร้างสรรค์จะทำให้ผลิตภัณฑ์ข้าวนี้มีความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะ ทั้งเพื่อการสืบสานภูมิปัญญา การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากข้าวด้วยนวัตกรรม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อประกวดผลิตภัณฑ์จากข้าวที่ผสมผสานภูมิปัญญาและนวัตกรรม
เพื่อส่งเสริมให้มีความคิดสร้างสรรค์ สร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ด้วยการสร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์
เพื่อสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของคนไทย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้พัฒนาผลิตพันธ์มีศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ ผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับความรู้ความเข้าใจและเห็นโอกาสในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาได้พัฒนาโดยการผสมผสานภูมิปัญญาและนวัตกรรม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และเห็นโอกาสในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ข้าว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
240 คน 240
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์จากข้าวไทยที่พัฒนามาจากการผสมผสานภูมิปัญญาและนวัตกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชิ้นงาน 10
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : กลุ่มผู้พัฒนาผลิตพันธุ์ที่มีศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 กลุ่ม 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้พัฒนาผลิตพันธ์มีศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ ผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับความรู้ความเข้าใจและเห็นโอกาสในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาได้พัฒนาโดยการผสมผสานภูมิปัญญาและนวัตกรรม
ชื่อกิจกรรม :
จัดประกวดผลิตภัณฑ์จากข้าวที่ผสมผสานภูมิปัญญาและนวัตกรรมข้าว ณ ฟาร์ม พืชไร่ วันที่ 20 ธันวาคม 2566 บูรณาการรายวิชา 10120404 กระบวนการผลิตข้าว รายวิชาเอกเลือก สาขาวิชาพืชไร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/12/2566 - 20/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรนภา  อินสลุด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพงษ์  กางโสภา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.กาญจนา  จอมสังข์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชญ์ภาส  สังพาลี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี  พุทธา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  อาจนาเสียว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายบัณฑิต  ต๊ะเสาร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สุจิรา  ทิวจิรกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางจิราพร  หลงปันใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าสนับสนุนผู้เข้าประกวด กลุ่มละ 300 บาท x จำนวน 10 กลุ่ม = 3,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร ผู้เข้าร่วมงาน จำนวน 75 คน x คนละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
เงินรางวัลการประกวด
- อันดับ1 1,000 บาท
- อันดับ2 700 บาท
- อันดับ3 500 บาท
- รางวัลชมเชย 2 รางวัล ๆ ละ 150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาไทย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะเวลาการดำเนินการอาจมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากเป็นช่วงการจัดการ 90 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
แจ้งผู้เข้าประกวดให้จัดเตรียมผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า และเตรียมผลิตภัณฑ์สำรองไว้สำหรับการเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล