20758 : โครงการขับเคลื่อนพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.เบ็ญจา บำรุงเมือง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  300  คน
รายละเอียด  บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน นักศึกษา ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2567 สำนักงานคณบดี แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการขับเคลื่อนพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ 2567 51,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ  เหิมฮึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 67 AP 6.1 การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ตัวชี้วัด 67 AP 6.1.6 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ "วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก"
กลยุทธ์ 67 AP 6.1.6.1 จ้ดสร้างพิพิธภัณฑ์เพื่อเผยแพร่ประวัติและผลงานทางด้านกล้วยไม้ของ ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
ตัวชี้วัด 67 AP 6.1.11 จัดตั้ง “ศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน”
กลยุทธ์ 67 AP 6.1.11.1 ส่งเสริม สนับสนุน ผลักดันให้มีการจัดทำศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชนโดยเครือข่ายและบุคลากรสังกัดส่วนงานให้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย
ตัวชี้วัด 67 AP 6.1.13 พัฒนาศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการ เกษตรให้มีความทันสมัย
กลยุทธ์ 67 AP 6.1.13.1 ปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของผลิตกรรมการเกษตรให้ชัดเจนโดยความร่วมมือจากบุคลากรสังกัดศิษย์เก่าและเครือข่าย ให้เป็นที่พึ่งของชุมชนด้านการเกษตร อย่างเป็นระบบที่ทันสมัยยิ่งขึ้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะผลิตกรรมการเกษตร มีฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร หลายศูนย์ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ และมีวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับพันธกิจทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ด้านการเรียนการสอน การพัฒนางานวิจัย การบริการวิชาการแก่บุคคลภายในและภายนอก ตลอดจนงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น เพื่อให้มีการรวบรวมองค์ความรู้กรอบภาระหน้าที่ให้ง่ายต่อการติดต่อ การบริการแก่บุคคลากรภายนอก และภายในอย่างเป็นระบบและเป็นการกระจายภาระงานให้ถูกต้อง และเหมาะสมต่อพันธกิจของศูนย์ภายใต้ส่วนงานนั้น ๆ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาศูนย์บริการวิชาการคณะผลิตกรรมการเกษตรให้มีความทันสมัย ทั้งด้านการประสานงานศูนย์ภายใต้ส่วนงานต่าง ๆ บูรณาการกับบุคลากรในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานหรือย่นระยะเวลาในการจัดการงานต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยภาพรวมนั้นควรมีสถานีรองรับการเข้าใช้บริการเป็นศูนย์กลางในการประสานงานต่าง ๆ จึงเห็นควรว่าการที่จัดตั้งระบบกายภาพ ผนวกกับการพัฒนาโครงข่ายงานอย่างเป็นระบบ จะเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่คล่องตัวมากขึ้น โดยเป้าหมายแรกนั้นจะดำเนินการเพื่อให้ศูนย์ภายใต้ส่วนงานคณะผลิตกรรมารเกษตรทั้ง 9 ศูนย์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดตั้งศูนย์ กล่าวคือ 1) เพื่อบริการวิชาการด้านการเกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริการวิชาการของคณะฯ 3) เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 4) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และฝึกทักษะของนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร และ 5) เพื่อเป็นหน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านบริการวิชาการของคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการรวมส่วนงานต่าง ๆ มาร่วมกันพัฒนาภายใต้ช่องทางเดียวกันนั้นย่อมเป็นผลดีในการร่วมมือพัฒนาต่อยอดงานวิจัยพื้นฐานภายใต้การอนุรักษ์สิ่งที่มี คือ องค์ความรู้ต่าง ๆ ตลอดจนเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้อย่างเป็นระบบ โดยวางเป้าหมายการขับเคลื่อนพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศไว้ 3 กิจกรรมคือ 1) กิจกรรมพัฒนาฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร 2) กิจกรรมพัฒนาศูนย์คลิกนิกเกษตรเพื่อชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตรสำหรับผู้ที่สนใจ และ3) กิจกรรมจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก เพื่อรวบรวมชีวประวัติ ผลงาน และงานด้านกล้วยไม้ของการวิจัยภายใต้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งในการจัดทำสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ นำเสนอองค์ความรู้ และการติดต่อประสานงาน ในลักษณะเว็บไซต์นั้น ยังเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสาร การค้นคว้า จากข้อมูลที่พิพิธภัณฑ์มีการรวบรวม และสามารถแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างรวดเร็วทันทีต่อการอัพเดตสถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านกล้วยไม้ ที่สามารถเชื่อมโยงผลงานออนไลน์ในสถาบันต่าง ๆ ที่ศึกษาได้ ทั้งนี้ทั้ง 3 กิจกรรมถือว่าเป็นโครงการที่ขับเคลื่อนพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ และเพื่อรองรับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ภายใต้องค์ความรู้ด้านการเกษตรไทย และความเป็นนานาชาติในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร
2. เพื่อพัฒนาศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน
3. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก นำมาจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร ศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน และพิพิธภัณฑ์วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
KPI 1 : จำนวนศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
9 ศูนย์ 9
KPI 2 : จำนวนคนเข้าดูเว็บไซต์ศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 3 : จำนวนคนเข้าชมพิพิธภัณฑ์ วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 4 : จำนวนเว็บไซต์ศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร และศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เว็บไซต์ 2
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนคนเข้าดูเว็บไซต์ศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 7 : ร้อยละโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร ศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน และพิพิธภัณฑ์วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
ชื่อกิจกรรม :
รวบรวมข้อมูลสำหรับจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์วิถีกล้วยไม้ไทย ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ วันละ 2,000 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย 2 คืน คืนละ 800 บาท จำนวน 4 ห้อง เป็นเงิน 6,400
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 4 คน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 2,880 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,280.00 บาท 0.00 บาท 9,280.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 1,000 บาท (โอนให้กองบริหารงานทรัพย์และกิจการพิเศษ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 7,720 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,720.00 บาท 0.00 บาท 7,720.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24000.00
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาฐานเรียนรู้ และศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเว็บไซต์สำหรับศูนย์ภายใต้คณะผลิตกรรมการเกษตร จำนวน 1 เว็บไซต์ ๆ เป็นเงิน 22,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,000.00 บาท 0.00 บาท 22,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22000.00
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเว็บไซต์สำหรับศูนย์คลินิกเกษตรเพื่อชุมชน จำนวน 1 เว็บไซต์ ๆ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ยังขาดศูนย์หรือสถานที่ที่สามารถให้คำปรึกษาและองค์ความรู้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ
ยังขาดข้อมูลที่สิ่งของที่เกี่ยวข้องกับศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก ในการนำมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ "วิถีกล้วยไม้ไทย" ศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริก
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดตั้งคลินิกเกษตรเพื่อเป็นศูนย์กลางในการให้คำปรึกษา และองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ
ทำการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์โดยทำการติดต่อประสานงานกับครอบครัวของศาสตราจารย์ ดร.ระพี สาคริกและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล