20755 : โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.กัลย์ชิสา นามวงศ์พรหม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/7/2567 15:31:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร รหัส 66 จำนวน 40 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้จากเงินพัฒนานักศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 (สโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร) สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิตผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) 2567 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรนุช  เจริญกิจ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.5 ร้อยละของนักศึกษาที่มีผลสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (CEFR) ตั้งแต่ B1 ขึ้นไป
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.5.1 เพิ่มทักษะภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษาและบุคลากร และพัฒนาระบบทดสอบภาษาอังกฤษเสมือนจริงโดยไม่ใช้กระดาษ (Paperless)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67 AP 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 3.1.5 ร้อยละของนักศึกษาที่มีผลสอบภาษาอังกฤษ (CEFR) ตั้งแต่ B1 ขึ้นไป
กลยุทธ์ 67 AP 3.1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนทักษะภาษาต่างประเทศให้กับนักศึกษา และมีผลสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (CEFR) ตั้งแต่ B1 ขึ้นไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่คนใช้สื่อสารกันทั่วโลก โดยเฉพาะในปัจจุบันที่การศึกษาไร้ขอบเขตพรมแดน หากนักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษได้ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน ก็จะเป็นการเปิดโลกทัศน์ของนักศึกษาให้กว้างขึ้นไร้ขีดจำกัด แต่ในปัจจุบันพบว่านักศึกษาของคณะผลิตกรรมการเกษตร มีทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษที่ค่อนข้างจะน้อยและไม่เพียงพอต่อการสื่อสารเบื้องต้นกับคนต่างชาติ ทำให้มีข้อจำกัดในการทำงานหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ ดังนั้นคณะผลิตกรรมการเกษตร จึงมีโครงการที่จะพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นของนักศึกษา เพื่อให้มีความมั่นใจและสามารถสื่อสารเบื้องต้นกับคนต่างชาติได้ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักศึกษาในการทำงานในอนาคตได้ วิธีดำเนินการ ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. การเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตัวเอง ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป SpeedX จำนวน 120 คน 2. คัดเลือกนักศึกษา จำนวน 40 คน ที่มีความพร้อมในการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร เข้าเรียนสดกับครูต่างชาติ ผ่านระบบออนไลน์ GURU English ตามหลักสูตรที่กำหนด

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร
เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักศึกษาในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการเรียนได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ MJU-deep. ได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 40 ชม. จนสามารถสอบผ่านระดับ B1 ได้
KPI 1 : จำนวนนักศึกษา รหัส 66 ทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ MJU-deep เข้าอบรม MJU-Speexx
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 2 : ร้อยละของพัฒนาการที่นักศึกษา 40 คน ได้พัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษคอร์ส GURU English
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ คอร์ส GURU English
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ MJU-deep. ได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 40 ชม. จนสามารถสอบผ่านระดับ B1 ได้
ชื่อกิจกรรม :
นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร รหัส 66 จำนวน 40 คน เข้าอบรมทักษะภาษาอังกฤษ Speexx - GURU 2024

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรพินธุ์  สฤษดิ์นำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา  หาญนอก (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าลงทะเบียนเรียน คอร์สรายชั่วโมง นักศึกษา 40 คน x 40 ชั่วโมง online x คนละ 1,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
นักศึกษา รหัส 66 ผลคะแนนสอบ MJU-Deep ในปี 2567 ระดับ A2 ลงสมัครเรียน Speexx ไม่ครบ 120 คน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ส่งรายชื่อนักศึกษา จำนวน 120 คน ให้เจ้าหน้าที่หลักสูตรแจ้งรายบุคคลให้ลงชื่อผ่าน Google Forms เพื่อเรียน Speexx
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล