20721 : โครงการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายกิตติชัย เกตุจิ๋ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ / นักศึกษาสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ / นักศึกษาวิชาเอกวิชาพืชไร่ วิชาเอกอารักขาพืช วิชาเอกปฐพีศาสตร์ วิชาเอกวิทยาการสมุนไพร วิชาเอกเกษตรอินทรีย์ วิชาเอกทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ / ผู้ที่มีความสนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี 2567 หลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุน บริหารจัดการทั่วไป แผนงาน : การเรียนการสอน งาน สนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา หลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 2567 72,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา  หม่องอ้น
อาจารย์ ดร. กาญจนา  จอมสังข์
นาย กิตติชัย  เกตุจิ๋ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จีราภรณ์  อินทสาร
รองศาสตราจารย์ ดร. ระวี  คเณชาบริรักษ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67 AP 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67 AP 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 67 AP 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการที่จำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Steakholder requirment and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการของการเรียนการสอนและการฝึกปฏิบัติ เพื่อปรับปรุงความรู้และพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของนักศึกษา ซึ่งกระบวนการสอน (Teaching Process) ไม่ใช่การสอน (Teaching) เพียงเพื่อให้นักศึกษาจดจำเนื้อหาสาระ (Content) หรือเป็นการถ่ายทอดความรู้ กระบวนการสอนที่ดีคือ การสอนที่ทำให้นักศึกษาเกิด "ปัญญา" นักศึกษารู้จักคิดวิเคราะห์และบูรณาการความรู้ที่ได้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม เช่นเดียวกับการฝึก (Training) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาเกิดทักษะ (Skill) การฝึกไม่ใช่เป็นเพียงการทำแบบฝึกหัดเพื่อให้เกิดทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์เพื่อให้ทำข้อสอบได้ หรือการทำการทดลองเพื่อให้ได้ผลการทดลอง หรือการลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ ดังนั้น การฝึกที่ดีจะต้องฝึกให้นักศึกษารู้จักคิดวิเคราะห์และบูรณาการที่มุ่งเน้นทักษะชีวิตอย่างแท้จริง ละส่งเสริมสร้างอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยโจ้ให้มีคความสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนใปในโลกปัจจุบัน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ภายใต้หน่วยงานคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในด้านการเรียนการสอน และมีปรัชญาในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและจริยธรรม เพื่อพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย สู่สากลอย่างยั่งยืน ดังนั้น หลักสูตรจึงมุ่งเน้นให้บัณฑิตทุกคนที่จบจากหลักสูตร มีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์เกษตรทั้งจากภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการผลิตและการบริหารจัดการปัจจัยการผลิตและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการผลิตพืช โดยบัณฑิตสามารถนำความรู้และทักษะดังกล่าวไปพัฒนาเป็นเทคโนโลยีการเกษตร ที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม นำสู่การพัฒนาประเทศ ซึ่งตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDG) เป้าหมายที่ 12 สร้างหลักประกันให้มีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน ตลอดจนสร้างนักศึกษาให้มีความสอดคล้องกับนโยบายตามแผนพัฒนาฯ แผนปฏิรูปการศึกษาฯ และนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ ดังปรัชญาของหลักสูตร "มุ่งผลิตบัณฑิตที่สามารถนำความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มผลิตภาพในการผลิตพืชได้อย่างเหมาะสมเท่าทันการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และอยู่ในบริบทของมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรม" ดังนั้น หลักสูตรได้เล็กเห็นถึงความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมนักศึกษา และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบไม่จำกัดกรอบความคิด รวมถึงการสร้างความเข้าใจและทราบถึง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย และได้เรียนรู้ ปรับตัว ทำความรู้จัก สร้างมิตรภาพกับเพื่อนร่วมรุ่นและรุ่นพี่ภายในสาขาเดียวกันหรือต่างสาขา ตลอดจนได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตภายในรั้วมหาวิทยาลัยจากประสบการณ์รุ่นพี่และช่วยเหลือซึ่งกันและกันจนสำเร็จการศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาทราบและมีความเข้าใจ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย
พื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตภายในรั้วมหาวิทยาลัยจากประสบการณ์รุ่นพี่
เพื่อให้นักศึกษาทราบและมีความเข้าใจโครงสร้างและแผนการเรียนของหลักสูตร
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ปรับตัว ทำความรู้จัก สร้างมิตรภาพกับเพื่อนร่วมรุ่นและรุ่นพี่ภายในสาขาเดียวกันหรือต่างสาขา
เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีความอบอุ่นและประทับใจ อันจะนำไปสู่ความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีระหว่าง คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ รุ่นพี่ และรุ่นน้อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบไม่จำกัดกรอบความคิด และนักศึกษาได้รับการปฐมนิเทศพร้อมพบอาจารย์ที่ปรึกษาแนะนำหลักสูตร
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตภายในรั้วมหาวิทยาลัยจากประสบการณ์รุ่นพี่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
KPI 2 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
450 450 450
KPI 4 : ร้อยละของนักศึกษาทราบและมีความเข้าใจ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
KPI 5 : ร้อยละของความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของนักศึกษาทราบและมีความเข้าใจโครงสร้างและแผนการเรียนของหลักสูตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
KPI 7 : ร้อยละของนักศึกษาได้เรียนรู้ ปรับตัว ทำความรู้จัก สร้างมิตรภาพกับเพื่อนร่วมรุ่นและรุ่นพี่ภายในสาขาเดียวกันหรือต่างสาขา
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบไม่จำกัดกรอบความคิด และนักศึกษาได้รับการปฐมนิเทศพร้อมพบอาจารย์ที่ปรึกษาแนะนำหลักสูตร
ชื่อกิจกรรม :
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ พบอาจารย์ที่ปรึกษา และรับขวัญน้องใหม่ถักทอสายใยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2567

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจิรา  หม่องอ้น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.กาญจนา  จอมสังข์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิตติชัย  เกตุจิ๋ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุจิรา  ทิวจิรกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุลาวัลย์  อาทิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รณิดา  พรมศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายบัณฑิต  ต๊ะเสาร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสัมพันธ์  ตาติวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางกชนก  ราชเมืองมูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางจิราพร  หลงปันใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 500 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น จำนวน 500 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดเตรียมพิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าเครื่องเสียงและไฟส่องสว่าง เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 2,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท 2,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 72600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ มีความไม่แน่นอน เนื่องจากกิจกรรมดังกล่าวไม่บังคับการเข้าร่วม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบถึงกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นก่อนการจัดกิจกรรมอย่างน้อย 1 - 2 สัปดาห์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล