20690 : โครงการบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นด้านรักษาอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/11/2566 16:04:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
06/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2567 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร  จันทร์ฉาย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-4 เป็นแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 67-4.1 การเป็นสถาบันที่เป็นแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 67-4.1.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัย และบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-4.1.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นด้านรักษาอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีจุดมุ่งหมายเพื่ออนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่ง รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร จันทร์ฉาย เป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ อีกทั้งยังมีหน้าที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลกิจกรรมทางด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย และกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัย เช่น การจัดแต่งขบวนแห่ทั้งงานสงกรานต์ งานลอยกระทง ฯลฯ ออกแบบการแสดงทุก ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับการแสดง ช่วยนักศึกษาแต่งหน้าแต่งตัว ดูแลและจัดห้องแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทยล้านนา เป็นต้น ซึ่งศิลปวัฒนธรรมเปรียบเสมือนจิตวิญญาณ ชีวิต และจิตใจ เพราะเป็นสิ่งที่เกิดจากการหล่อหลอม ขัดเกลา บำรุง และพัฒนามาจากบรรพบุรุษของไทยเรา ดังนั้นเราควรทำนุบำรุง รักษาเอาไว้ และสืบทอดให้คนรุ่นหลังต่อไปเพื่อไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา และนักศึกษายังได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดแพร่จากชุมชนต่าง ๆ เพื่อสืบทอดและทำการเผยแพร่ต่อไป อันสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษาร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น และกิจกรรม Soft Power จากอัตลักษณ์ที่โดดเด่นของจังหวัดแพร่ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม เช่น วรรณกรรมลิลิตพระลอ ตำนานถ้ำผานางคอย นางสีเหว่ย และภูมิปัญญาการทำผ้าหม้อห้อม เป็นต้น แสดงออกมาเป็นสื่อ ภาพนิ่ง และวีดีทัศน์ สู่โลกออนไลน์ในแพลตฟอร์มต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ เช่น Soft Power ของจังหวัด โดยมีนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นผู้ขับเคลื่อน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นการสืบสานและอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. เพื่อบูรณาการกับพันธกิจอื่น เช่น การเรียนการสอน การวิจัย และบริการวิชาการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นด้านรักษาอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : องค์ความรู้ที่ได้บูรณาการกับการเรียนการสอน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นด้านรักษาอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
เข้าร่วมงานตานก๋วยสลากของจังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  จันทร์ฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเช่าชุดแต่งกายสำหรับขบวนแห่ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3000.00
ชื่อกิจกรรม :
เข้าร่วมงานประเพณีไหว้พระพุทธโกศัยศิริชัย มหาศากยมุนี จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  จันทร์ฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเช่าชุดแต่งกายสำหรับการแสดง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
วิชา ทช 271 เทคโนโลยีชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น (เลือกเสรี)
ช่วงเวลา : 06/10/2566 - 10/05/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อบูรณาการกับประเพณีและวัฒนธรรมพื้นถิ่นของจังหวัดแพร่ เช่น ประเพณีตานก๋วยสลาก และ ประเพณีไหว้พระพุทธโกศัยศิริชัย มหาศากยมุนี 90 นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตรได้เรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดแพร่
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีตานก๋วยสลากเมืองแพร่ และ ประเพณีไหว้พระพุทธโกศัยศิริชัย มหาศากยมุนี
ช่วงเวลา : 06/10/2566 - 10/05/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อบูรณาการเรียนการสอนในรายวิชา ทช 271 90 นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตรได้เรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดแพร่
เอกสารประกอบ
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล