20623 : โครงการจัดการขยะและเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรของชุมชนด้วยวิธีการทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์ ยอดคำ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/12/2566 13:26:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  300  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 444,789.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์  ยอดคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.3.1. EN67 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3.1.6 EN67 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ขยะ” ถือเป็นปัญหาที่สำคัญของชุมชนและนับวันปริมาณขยะก็จะยิ่งมีมากขึ้น ซึ่งหากชุมชนหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบไม่มีวางแผนการจัดการขยะที่เกิดขึ้นที่ในชุมชนอย่างเหมาะสม ก็จะทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหาค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนมาจัดการขยะ ปัญหาการลักลอบเผาซึ่งทำให้เกิดปัญหาหมอกควันและมลพิษในอากาศ ปัญหาการลักลอบทิ้งขยะในที่สาธารณะที่ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพอนามัย เป็นต้น ในจังหวัดเชียงใหม่ได้มีหน่วยงานต้นแบบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่ได้รับรางวัลระดับประเทศ ได้แก่ อบต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ที่ได้รับรางวัล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น ด้านการจัดการขยะมูลฝอย ประจำปี 2561 ที่จัดโดยกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ภายใต้ชื่อผลงาน “โครงการบริหารจัดการขยะโดยชุมชนขยะบุพเฟ่ต์” คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นสถาบันการศึกษาที่มีองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะชุมชน และการผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกองที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมระดับประเทศ (True Innovation Award 2012) รวมถึงองค์ความรู้ด้านการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพจากขยะอินทรีย์ ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้ได้สามารถนำไปใช้แก้ไขปัญหาขยะชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน “การทำปุ๋ยอินทรีย์” เป็นวิธีการหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการช่วยลดปริมาณขยะชุมชน และสามารถนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรเพื่อปรับปรุงบำรุงดินและช่วยลดต้นทุน แต่วิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบทั่วไปมีค่าวัสดุและอุปกรณ์สูง อีกทั้งมีวิธีการที่ยุ่งยาก ซึ่งทำให้ครัวเรือนหรือชุมชนไม่จูงใจในการทำ ทำให้การลดปริมาณขยะครัวเรือนไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ผู้สนใจสามารถนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะชุมชนและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไปบูรณาการจัดการปัญหาขยะอินทรีย์ในชุมชนได้ รวมถึงสามารถนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ไปต่อยอดใช้ในด้านการเกษตรแบบอินทรีย์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการขยะและเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรของชุมชนด้วยการทำปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง” ให้กับหน่วยงานหรือชุมชนที่สนใจในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน จำนวน 10 ครั้ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 300 คน และปริมาณปุ๋ยหมักที่ได้หลังการดำเนินโครงการ ไม่น้อยกว่า 10,000 กิโลกรัม
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
150 150 คน 300
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 ปริมาณปุ๋ยหมักที่ได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 5000 กิโลกรัม 10000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 300 คน และปริมาณปุ๋ยหมักที่ได้หลังการดำเนินโครงการ ไม่น้อยกว่า 10,000 กิโลกรัม
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการขยะและเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรของชุมชนด้วยการทำปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์  ยอดคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับวิทยากรและผู้เข้าอบรม (35 คน * 2 มื้อ * 35 บาท * 10 ครั้ง = 24,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,250.00 บาท 12,250.00 บาท 0.00 บาท 24,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากรและผู้เข้าอบรม (35 คน * 1 มื้อ * 100 บาท = 35,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 17,500.00 บาท 17,500.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาพาหนะพร้อมเชื้อเพลิง (1 คัน * 2 วัน * 2500 บาท * 10 ครั้ง = 50,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าห้องพัก (2 ห้อง * 1 คืน * 1,200 บาท * 10 ครั้ง = 24,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม (30 เล่ม * 1 วัน * 50 บาท * 10 ครั้ง = 15,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาปรับปรุงฐานเรียนรู้ (1 ครั้ง * 90,000 บาท = 90,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 90,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 2 คน ๆ ละ 1.5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 10 ครั้ง (2 คน * 1.5ชม. * 600 บาท * 10 ครั้ง = 18,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 18,000 บาท (2 คน * 3 ชม.* 300 บาท * 10 ครั้ง = 18,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 125,289.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 125,289.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 444789.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล