20602 : โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 "นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.อัมภา สันทราย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/10/2566 14:04:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2566  ถึง  30/04/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  180  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งนิสิต นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากเครือข่ายสถาบันการศึกษา และเครือข่ายภาครัฐ ภาคธุรกิจ และองค์กรเอกชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ งบกองทุนวิจัยและพัฒนา 2567 240,000.00
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ (ค่าลงทะเบียน) 2567 270,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรทัย  มิ่งธิพล
นาง ทิพย์สุดา  ปุกมณี
น.ส. รังสิมา  อัมพวัน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน  มะโนชัย
รองศาสตราจารย์ ดร. อภินันท์  สุวรรณรักษ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.4 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กพอ.
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.4.5 ส่งเสริมและสนับสนุนนักวิจัยให้ไปนำเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีเสถียรภาพอย่างยั่งยืน ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยฐานความเข้มแข็งของประเทศอันประกอบด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ส่งเสริมและพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นเจ้าของสินค่าและบริการมูลค่าสูงที่ยกระดับมูลค่าในห่วงโซ่การผลิตสินค้าและบริการ นำเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลสมัยใหม่ที่ช่วยทลายข้อจำกัด ให้เกิดการก้าวกระโดดของการพัฒนาต่อยอด สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน กระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่งแบบทั่วถึง (Inclusive growth) รวมถึงการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงวัย ตลอดจนรองรับผลกระทบจากพลวัตของกระบวนการโลกาภิวัตน์ การย้ายขั้วอำนาจทางเศรษฐกิจและภูมิรัฐศาสตร์ใหม่ ตลอดจนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่คาดว่าจะมีความรุนแรงมากขึ้น รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน (Disruption) ที่ต้องการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความรู้ และความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงการพัฒนากำลังคนที่เหมาะสม เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการนำพาประเทศให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ดังนั้นบทบาทสถาบันการศึกษาที่มุ่งเน้นให้มหาวิทยาลัยเป็นฟันเฟืองสำคัญ เพื่อสร้างคน สร้างองค์ความรู้ และสร้างนวัตกรรมตอบโจทย์ท้าทายของประเทศ ผ่านการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ รวมทั้งจัดระบบและการบริหารจัดการ ทั้งนี้ Mindset ที่สำคัญ คือ การปรับเปลี่ยนจากการวิจัยและนวัตกรรมที่มาจากอุปทาน (Supply side) เน้นตอบโจทย์ผู้วิจัย เปลี่ยนข้างไปสู่การวิจัยและนวัตกรรมที่มาจากอุปสงค์ (Demand side) เพื่อตอบโจทย์ประเทศ ภาคเศรษฐกิจ และภาคสังคม การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเป็นกลไกสำคัญที่สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้วยการพัฒนาการเกษตรสร้างมูลค่าสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเผยแพร่และถ่ายทอดผลงานวิจัยเป็นภารกิจหนึ่งของงานบริหารผลงานวิจัยและนวัตกรรมการวิจัย ภายใต้ยุทธศาสตร์ด้านความเป็นเลิศด้านการวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายในการก้าวสู่ปีที่ 100 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปี พ.ศ. 2577 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาสู่การเป็นนิเวศแห่งสังคมอุดมปัญญาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่มอาชีพ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จึงได้ดำเนินการจัดโครงการประชุมวิชาการ “นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ” เพื่อเป็นการส่งเสริมให้อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ และผู้สนใจ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งนิสิต นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากเครือข่ายสถาบันการศึกษา และบุคลากรภาครัฐ องค์กรเอกชน ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์งานวิจัยในรูปแบบของการบรรยายและการสัมมนาผลงานวิจัยและบริการวิชาการ ทำให้เข้าใจถึงปัญหาซึ่งจะนำไปสู่แนวทางการวิจัยและแก้ไขปัญหาได้อย่างสัมฤทธิ์ผล และสามารถทำงานวิจัยเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อกันในการนำผลงานวิจัยต่อยอดขยายผลสร้างประโยชน์ต่อองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไป อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างแท้จริง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ทางวิชาการ รวมทั้งเผยแพร่ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมสู่สาธารณะ ในรูปแบบของการเสวนาวิชาการ และการนำเสนอบทความ
เพื่อขยายเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างสถาบันการศึกษา วิจัยและพัฒนาของหน่วยงานราชการและหน่วยงานเอกชน เพื่อต่อยอดขยายผล พัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างประโยชน์เชิงพาณิชย์ และสาธารณะต่อไป
เพื่อสร้าง Platform แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ให้สร้างประโยชน์ที่เกิดผลลัพธ์และผลกระทบที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 “นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ”
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อผลลัพธ์จากการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : การดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนเรื่องที่นำเสนอภาคบรรยาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 เรื่อง 85
KPI 4 : เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในการประชุมวิชาการระดับชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 หน่วยงาน 15
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
180 คน 180
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการดำเนินโครงการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.51 ล้านบาท 0.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 “นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ”
ชื่อกิจกรรม :
การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 "นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2566 - 30/04/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย  มิ่งธิพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางทิพย์สุดา  ปุกมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รังสิมา  อัมพวัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อัมภา  สันทราย (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รัญรณา  ขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเกียรติศักดิ์  ทาสูน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายปริญญา  เพียรอุตส่าห์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.อนุพันธุ์  สมบูรณ์วงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ารถตู้ (จำนวน 1 คัน 2 วัน ๆ ละ 2,800 บาท รวมค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
(นอกเวลาทำการ 4 วัน ๆ ละ 100 บาท 5 คน)
(วันหยุดทำการ 4 วัน ๆ ละ 200 บาท 5 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิตรวจประเมินผลงาน
(จำนวน 127 เรื่อง ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
190,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 190,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
38,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 38,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าดวงตราไปรษณีย์ยากร สำหรับส่งบทความและเอกสารต่าง ๆ ให้กับผู้ทรงคุณวุฒและผู้เสนอผลงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าบริการ Zoom Meeting สำหรับใช้ในการรองรับการจัดประชุมวิชาการผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 270000.00
ชื่อกิจกรรม :
การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 "นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2566 - 30/04/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย  มิ่งธิพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางทิพย์สุดา  ปุกมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รังสิมา  อัมพวัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อัมภา  สันทราย (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รัญรณา  ขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเกียรติศักดิ์  ทาสูน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายปริญญา  เพียรอุตส่าห์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.อนุพันธุ์  สมบูรณ์วงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางวิทยากร
(ค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับ 5 คน ๆ ละ 5,980บาท = 29,900)
(ค่าพาหนะไป-กลับ 4 คน ๆ ละ 1,000 บาท = 4,000)
(ค่าพาหนะไป 1 คน 500 บาท = 500 )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
34,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 34,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร
(3 คน ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 1,800 บาท = 5,400 บาท)
(1 คน 2 คืน ๆ ละ 1,800 บาท = 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มระหว่างการประชุม
สำหรับผู้เข้าร่วม วิทยากร และเจ้าหน้าที่
(จำนวน 255 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท = 35,700 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
35,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันระหว่างการประชุม
สำหรับผู้เข้าร่วม วิทยากร และเจ้าหน้าที่
(จำนวน 255 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท = 76,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
76,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 76,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก
(สำหรับวิทยากร 37 คน ๆ ละ 1,000 บาท = 37,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
37,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 37,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยการใช้พาหนะส่วนตัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกเครื่องพิมพ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
23,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 23,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ดอกไม้สด พลาสติก ก้อนโอเอซีส ฯลฯ สำหรับจัดตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น สำหรับรถยนต์
(รถตู้ 2 วัน 2 คัน ๆ ละ 2,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 240000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
หากงบประมาณที่ได้รับจากค่าลงทะเบียนน้อย ทำให้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายสำหรับในการดำเนินงานอาจทำให้การดำเนินงานมีอุปสรรคและไม่มีประสิทธิภาพดีเท่าที่ควร
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มหาวิทยาลัยควรพิจารณาการจัดสรรงบประมาณสำหรับใช้ในการดำเนินงาน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล