20577 : โครงการการจัดการความรู้ คณะเศรษฐศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายจีระศักดิ์ วงษาปัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/1/2567 11:15:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  55  คน
รายละเอียด  1. บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 44 คน 2. นักศึกษาสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 10 คน 3. วิทยากร จำนวน 1 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2567 6,390.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย จีระศักดิ์  วงษาปัน
น.ส. นภัสวรรณ  กันศิริ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
น.ส. กาญจนา  ชิดทอง
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.5.2 ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐาน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.5.2.1 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของคณะ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-7 มีระบบการบริหารจัดการที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-7.1 ระดับความสำเร็จของแผนปฏิบัติงานประจำปี
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-7.1.1 กำหนดการจัดทำแผนปฏิบัติงานโดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของคณะ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-7 มีระบบการบริหารจัดการที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-7.1 ระดับความสำเร็จของแผนปฏิบัติงานประจำปี
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-7.1.1 กำหนดการจัดทำแผนปฏิบัติงานโดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะเศรษฐศาสตร์ได้กำหนดนโยบายให้มีการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบันซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึง และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในสถาบัน ประกอบด้วยกระบวนการ 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) รวมถึงการสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2567 คณะกรรมการจัดการความรู้คณะเศรษฐศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 จึงได้จัดแผนการดำเนินงานและมีการจัดทำโครงการการจัดการความรู้ คณะเศรษฐศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยโครงการดังกล่าวจะครอบคลุมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุกด้าน ได้แก่ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัยและบริการวิชาการ และด้านการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้ กิจกรรมที่ 1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตบัณฑิต โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ (คณะกรรมการจัดการความรู้คณะเศรษฐศาสตร์ บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ) นักศึกษาสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ และวิทยากร จำนวน 55 คน กิจกรรมที่ 2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและบริการวิชาการ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ (คณะกรรมการจัดการความรู้คณะเศรษฐศาสตร์ บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ) จำนวน 44 คน กิจกรรมที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ (คณะกรรมการจัดการความรู้คณะเศรษฐศาสตร์ บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ) และนักศึกษาสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 54 คน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดบทเรียนและประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างบุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา
เพื่อให้การดำเนินงานด้านต่าง ๆ ตามพันธกิจของคณะฯ ได้แก่ พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัยและบริการวิชาการ และด้านการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประสิทธิผลต่อองค์กร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตบัณฑิต
KPI 1 : ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนด (จำนวน 55 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและบริการวิชาการ
KPI 1 : ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนด (จำนวน 44 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ
KPI 1 : ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนด (จำนวน 54 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตบัณฑิต
ชื่อกิจกรรม :
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตบัณฑิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายจีระศักดิ์  วงษาปัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.นภัสวรรณ  กันศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 55 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,650.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,650.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3450.00
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและบริการวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและบริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายจีระศักดิ์  วงษาปัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.นภัสวรรณ  กันศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 44 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,320.00 บาท 0.00 บาท 1,320.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1320.00
ผลผลิต : บุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ
ชื่อกิจกรรม :
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายจีระศักดิ์  วงษาปัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.นภัสวรรณ  กันศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 54 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,620.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,620.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1620.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล