20567 : โครงการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ภายใต้แหล่งเรียนรู้ด้านระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.เบญจวรรณ จันทร์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/08/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมายภายใน ได้แก่ นักศึกษาและบุคลากร คณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 80 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2567 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว
นาย เอกพันธ์  กูนโน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.9 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.9.1 ส่งเสริม/สนับสนุนให้บุคลากรให้บริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ BCG และ SDG
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-6 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเป็น Green Economy
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-6.1 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ณ ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-6.1.1 พัฒนาโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับการเป็น Green Economy
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตั้งอยู่ภายในฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีพื้นที่ประมาณ 12 ไร่ ได้เริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2558 โดยปัจจุบันแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1.โซนปลูกไม้ผล ได้แก่ มะม่วงและลำไย 2.โซนปลูกพืชผัก 3.โซนสวนป่าและพืชสมุนไพร และ 4.โซนไม้ยืนต้น ซึ่งเป็นแหล่งในการเรียนรู้ด้านการเกษตรภาคปฏิบัติแก่นักศึกษาของคณะเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ การเรียนรู้ในการปลูกผักอินทรีย์ การเพาะกล้าผัก การขึ้นแปลงเตรียมแปลงสำหรับปลูกผัก รวมถึงการดูแลรักษา เช่น การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ การทำสารชีวภาพไล่แมลง นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้การนำทรัพยากรที่มีอยู่กลับมาให้หมุนเวียนเพื่อเป็นปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ได้แก่ การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองจากเศษใบไม้ เพื่อนำมาใช้ภายในศูนย์เรียนรู้ฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อเป็นการต่อยอดและพัฒนากิจกรรมด้านการเสริมสร้างทักษะทางการเกษตรแก่นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ รวมถึงการเป็นแหล่งเรียนรู้และให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงกำหนดจัดโครงการโครงการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ภายใต้แหล่งเรียนรู้ด้านระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ ปี 2567 พัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้แก่นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ ระหว่างวันที่ 5 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ณ ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ โดยกำหนดกิจกรรมได้แก่ 1.การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักในระบบเกษตรอินทรีย์และการเพาะกล้าผัก 2.การอบรมความรู้การใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ทั้งนี้เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะทางการเกษตรให้แก่นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์เพื่อจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสร้างการมีส่วนร่วมการใช้ประโยชน์พื้นที่ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติในการเผยแพร่ความรู้ให้แก่นักศึกษา ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางการเกษตรให้แก่นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์
เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และนำองค์ความรู้ที่ได้ไปต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์มีความรู้และทักษะทางด้านการเกษตร
KPI 1 : ระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชผักในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : จำนวนทักษะเกษตรที่นักศึกษาได้เรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 เรื่อง 3
KPI 3 : ร้อยละจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (80 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์มีความรู้และทักษะทางด้านการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมให้ความรู้ การปลูกพืชผักในระบบเกษตรอินทรีย์และการเพาะกล้าผัก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/08/2567 - 14/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (30 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ดินสอ แม็กเย็บกระดาษ กรรไกร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร ได้แก่ วัสดุเพาะกล้า เมล็ดพันธุ์ผัก ไตโครเดอร์มา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7500.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเชิงปฎิบัติการ การปลูกพืชผักและใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกพืชผักในระบบเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/09/2567 - 04/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 50 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงมือยาง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น เชือกสำหรับทำค้าง ผ้าใบคลุมแปลง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ไม่มีพาหนะสำหรับเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตรงกับส่วนงานอื่นๆ ทำให้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายไม่สามารถเข้าร่วมได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เปิดรับสมัครนักศึกษาชั้นปีอื่นๆ ที่มียานพาหนะ และสามารถพานักศึกษาปี 1 ไปร่วมได้
ลงบันทึกการจัดกิจกรรมในปฏิทินการดำเนินงานของคณะเศรษฐศาสตร์แต่เนิ่นๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาเข้าร่วม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล