20549 : โครงการอบรมไพธอนเพื่อการลงทุน และ Web Scraping สำหรับข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์และการเงินประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี สิงหะวาระ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/7/2567 17:59:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/07/2567  ถึง  03/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 2-4 จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฎิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่2)) 2567 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านดิจิทัล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ ปรับปรุงหลักสูตรเพื่อเน้นทักษะความเป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษา
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.3.3 พัฒนาทักษะที่จำเป็นแก่นักศึกษาก่อนเข้าสู่การประกอบอาชีพและการเรียนต่อ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในโลกเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เป็นเครื่องมือการลงทุนในยุค Big data สถาบันการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ รวมถึงกองทุนบรหารสินทรัพย์ ได้ให้ความสำคัญกับการใช้ data science เพื่อสร้างผลตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น หุ้น คลิปโต ทองคำ และตราสารอนุพันธ์ อย่างแพร่หลาย โดยโปรแกรมที่ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและรวดเร็วในปัจจุบันได้แก่ Python ถือเป็นโปรแกรมสำคัญอันดับต้นๆของโลกการลงทุนในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลสำคัญ คือ เป็นโปรแกรมที่ไม่มีค่าใช้จ่าย และมีสังคมผู้ใช้งานขนาดใหญ่ ทำให้เกิดการพัฒนาต่อยอดความรู้เป็นไปอย่างรวดเร็ว ประกอบกับการเฟ้นหาบุคคลที่มีทักษะการใช้ Python เป็นไปอย่างเข้มข้น ทำให้ค่าจ้างสำหรับบุคลากรในสายงานการลงทุนที่ใช้ python ได้ มีค่าตอบแทนในระดับสูง จากความสำคัญที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้หลักสูตรเห็นความสำคัญของการจัดอบรม การใช้ Python เพื่อการลงทุนและการทำ Web Scrapping เพื่อให้ได้ข้อมูลทางธุรกิจที่าำคัญ เช่น ข้อมูลทางการตลาด การเงิน และตัวเลขทางเศรษฐกิจจาก Web Site เพื่อสร้างทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต โดยจัดกิจกรรมขึ้นเป็นจำนวน 3 วัน ระหว่างวันที่ 27-28 กรกฎาคม 2567 และ 3 สิงหาคม 2567 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้โปรแกรม Python เพื่อการพัฒนาทักษะด้านการลงทุนทางการเงินและเศรษฐศาสตร์
2.เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการวิเคราะห์การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลและตลาดทุนทั้งในและนอกประเทศได้อย่างเหมาะสม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Python เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสินทรัพย์ดิจิทัลและหุ้น และ Web Scraping
KPI 1 : ระดับความรู้ความเข้าใจในการอบรมโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน และ Web Scraping
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม(50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Python เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสินทรัพย์ดิจิทัลและหุ้น และ Web Scraping
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการใช้โปรแกรม Python วิเคราะห์ข้อมูล Big Data ทางการเงินจาก Yahoo Finance และ Web Scraping

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/07/2567 - 03/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี  สิงหะวาระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา  พันธุ์มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เกวลิน  สมบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พิมพิมล  แก้วมณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 3 ครั้ง (กลุ่มละ 50 คน ราคา 50 บาท/คน 3 มื้อ) ครั้งที่1 วันที่ 27 กรกฎาคม 2567 ครั้งที่ 2 วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 ครั้งที่ 3 วันที่ 3 สิงหาคม 2567
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 3 ครั้ง (ครั้งละ 50 คน ราคา 25 บาท/คน จำนวน 6 มื้อ) ครั้งที่ 1 วันที่ 27 กรกฎาคม 2567 ครั้งที่ 2 วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 ครั้งที่ 3 วันที่ 3 สิงหาคม 2567
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนคอมพิวเตอร์ห้องปฎิบัติการไม่พอกับจำนวนนักศึกษา 50 คน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การดึงข้อมูลทางเศรษฐกิจการเงิน
ช่วงเวลา : 01/08/2567 - 15/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล