20541 : โครงการพัฒนาทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดลัอม ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.นลินี คงสุบรรณ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/7/2567 14:23:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/08/2567  ถึง  21/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  145  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม ชั้นปีที่ 1-3 จำนวน 138 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน และวิทยากร จำนวน 2 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) (เบิกจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา) 2567 11,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2567 10,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. นลินี  คงสุบรรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.2 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking (Green University) (กรณีส่วนงาน: ความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.2.8 พัฒนากายภาพ สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงทัศนียภาพภายใน ม.ให้มีความสวยงามตลอดปี
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม(Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.3.1.5 ผลักดันการนำไปใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69ECON1-1 เป็นองค์กรที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน ทั้งด้านกายภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และนวัตกรรม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 65-69ECON1-1.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 1-1.2.2 ส่งเสริมการจัดโครงการพัฒนานักศึกษาให้มีกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-5 เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-5.2 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็นโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-5.3 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็นโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่นของคณะ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเกษตร และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการเรียนรายวิชาต่างๆ ของสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม นักศึกษาจำเป็นต้องมีทักษะทางด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำไปประยุกต์กับการเรียนในรายวิชาต่างๆ ของสาขาวิชาฯ ดังนั้น สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดให้มีโครงการพัฒนาทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมขึ้น ซึ่งเป็นโครงการที่นักศึกษาจะได้ลงมือปฏิบัติจริงทั้งทักษะด้านการเกษตร และสิ่งแวดล้อม โดยมีวิทยากรภายในคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 2 ท่าน และมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม ชั้นปีที่ 1 - 3 จำนวน 138 คน และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 143 คน เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมให้แก่นักศึกษา อันเป็นการเตรียมความพร้อมในการเรียนในรายวิชาต่างๆ เช่น รายวิชา 10501131 การเกษตรเบื้องต้น 10501213 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม 10501334 เศรษฐศาสตร์การผลิตและการจัดการฟาร์ม เป็นต้น ตลอดจนการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณรอบคณะเศรษฐศาสตร์ให้สวยงาม นอกจากนี้ในการดำเนินโครงการดังกล่าวยังจะเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษา และคณาจารย์ในสาขาวิชาฯ ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน อันจะนำไปสู่การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เกิดความรัก และความสามัคคีในหมู่คณะ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมให้แก่นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีงามในหมู่คณะ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ภูมิทัศน์ของคณะเศรษฐศาสตร์ได้รับการปรับปรุงให้สวยงาม และมีความสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คณะ
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม ที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 เฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีทักษะด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ภูมิทัศน์ของคณะเศรษฐศาสตร์ได้รับการปรับปรุงให้สวยงาม และมีความสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คณะ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และการปรับปรุงภูมิทัศน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/08/2567 - 21/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นลินี  คงสุบรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์  สุภาพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนิษฐา  เสถียรพีระกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์  นันทะเสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 145 คน * 25 บาท * 2 มื้อ รวม 7,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,250.00 บาท 7,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 145 คน * 60 บาท * 1 มื้อ รวม 8,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,700.00 บาท 8,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำหรับจัดกิจกรรม รวม 5,450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,450.00 บาท 5,450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 21400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
กำหนดการ และรายชื่อนักศึกษา
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล