20536 : โครงการอบรมเพิ่มความรู้ด้านทักษะดิจิทัล ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา โปธาวงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/1/2567 15:35:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/02/2567  ถึง  28/02/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  72  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ ชั้นปีที่ 1-2 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 70 คน อาจารย์สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ จำนวน 1 คน และวิทยากร จำนวน 1 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) ) 2567 22,250.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร. นัยนา  โปธาวงค์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านดิจิทัล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย ด้านดิจิทัล
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โลกยุคไร้พรมแดนและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลให้ประเทศและสถาบันการศึกษาต้องมีการปรับตัวให้สอดรับกับยุคสมัย มีแผนการพัฒนาที่รองรับกับทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการเตรียมความพร้อมผู้เรียนและประชาชนภายในประเทศให้สามารถปรับตัวและใช้ชีวิตสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์เห็นถึงความสำคัญในประเด็นดังกล่าว จึงได้จัดโครงการอบรมเพิ่มความรู้ด้านทักษะดิจิทัล ประจำปี 2567 ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ และสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล แพลทฟอร์ม หรือเทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้อง และสามารถนำไปปฏิบัติงานได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งสอดคล้องคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร โดยได้เชิญบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยที่มีความรู้ความสามารถเป็นวิทยากรในการอบรมดังกล่าว หัวข้อการอบรมประกอบด้วย 1) การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Literacy and Digital Citizenship) 2) การใช้งานแอพพลิเคชั่น CANVA 3) การใช้งาน Chat GPT 4) การใช้งานแอพพลิเคชั่น TikTok & Content ทั้งนี้หากนักศึกษาผ่านการอบรมทั้ง 4 หัวข้อ จะได้รับประกาศนียบัตรการผ่านการอบรมด้านทักษะดิจิทัล จากหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะด้านดิจิทัล
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนหรือในชีวิตประจำวัน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านทักษะดิจิทัลและสามารถประยุกต์ใช้ได้
KPI 1 : จำนวนนักศึกษานักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (70 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระดับความรู้ความเข้าใจด้านทักษะดิจิทัลและสามารถประยุกต์ใช้ได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านทักษะดิจิทัลและสามารถประยุกต์ใช้ได้
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเพิ่มความรู้ด้านทักษะดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/02/2567 - 28/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.อารีย์  เชื้อเมืองพาน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.รนกร  สุภจินต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน ๆ ละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ = 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ = 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำใบประกาศนียบัตร 70 ใบ ๆ ละ 15 บาท = 1,050 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,050.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 12 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท = 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22250.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล