20535 : โครงการนำนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ศึกษาดูงานนอกสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2566
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก สังข์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/1/2567 11:31:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/02/2567  ถึง  06/02/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  9  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 8 คน และอาจารย์จำนวน 1 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2567 19,820.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ทำการจัดการเรียนการสอนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตเศรษฐศาสตร์ที่มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เป็นนักสหกรณ์ ผู้นำองค์กรชุมชน ที่มีอุดมการณ์สหกรณ์ มีความสามารถบริหารจัดการ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการประกอบการ เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ จึงได้จัดโครงการนำนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ศึกษาดูงานนอกสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2566 มีความมุ่งหมายให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการจัดการสหกรณ์ ปัจจัยความสำเร็จ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ได้ ตลอดจนได้รับประสบการณ์โดยตรง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการ กระบวนการและวิธีการสหกรณ์ และเปิดโลกทัศน์ให้แก่นักศึกษาในกิจกรรมของสหกรณ์ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ โดยนำนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 จำนวน 8 คน ศึกษาดูงานสหกรณ์ 3 แห่งในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเวียงป่าเป้า จำกัด สหกรณ์การเกษตรเมืองเชียงราย จำกัด และสหกรณ์การเกษตรแม่สาย จำกัด และพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่สหกรณ์การเกษตรดอยสะเก็ด จำกัด ในวันที่ 5-6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการจัดการสหกรณ์ ปัจจัยความสำเร็จ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ได้
เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ เปิดโลกทัศน์ให้แก่นักศึกษาในกิจกรรมของสหกรณ์ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการ กระบวนการ และวิธีการสหกรณ์
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (8 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
KPI 2 : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการ กระบวนการและวิธีการสหกรณ์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการ กระบวนการ และวิธีการสหกรณ์
ชื่อกิจกรรม :
นำนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ศึกษาดูงานนอกสถานที่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/02/2567 - 06/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ จำนวน 1 คัน รวม 2 วัน คันละ 3000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย คนละ 800 บาท จำนวน 9 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยงเลี้ยง คนละ 240 บาท 9 คน จำนวน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,320.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,320.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 3 เมตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก (แก้วน้ำเก็บความเย็นหูหิ้ว) จำนวน 10 ช้ิน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17970.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การเดินทางหลงทางเนื่องจากสหกรณ์มีหลายสาขา การค้นหา GPS จึงผิดพลาด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานล่วงหน้าอย่างชัดเจน แบบตอบรับให้ระบุชื่อผู้ประสานงาน และให้ส่ง Location ผ่าน Line
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
-
ช่วงเวลา : 05/01/2567 - 06/01/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล