20480 : การเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/7/2567 14:38:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
11/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  360  คน
รายละเอียด  อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 88,380.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พัชรินทร์  สารมาท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-4 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด BA67-KPI-10 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ BA67-S-10 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด BA67-KPI-13 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ BA67-S-13 สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาชั้นปีสุดท้ายตามกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ BA67-G-10 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม
ตัวชี้วัด BA67-KPI-31 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ BA67-S-28 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต เป็นหลักสูตรที่มุ่งแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเน้นการผลิตบุคลากรในสาขาวิชาการบัญชี ให้เป็นผู้ประกอบการและผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพบัญชี ที่มีทักษะและความสามารถในการทำงานได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความอดทน สู้งาน ดังนั้น การรับเข้าและเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ เป็นกระบวนการสำคัญที่จะทำให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการผลิตบัณฑิตของหลักสูตรมีคุณภาพ ภายใต้กลไกของระบบประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรฯ จึงได้พิจารณาจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษาใหม่ หลักสูตร 4 ปีและหลักสูตร 2 ปีเทียบเข้าเรียนที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2567 ให้ได้รับการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ซึ่งมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้รับองค์ความรู้พื้นฐานในภาพรวมของการทำธุรกิจ ลักษณะกิจการในประเภทธุรกิจต่าง ๆ การจัดการโครงสร้างองค์กร และหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีภายใต้การทำงานในองค์กรธุรกิจ และการเตรียมความพร้อมในการให้ความรู้ด้านระบบบัญชี วงจรการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกระบวนทางธุรกิจ ซึ่งเชื่อมโยงมายังการบันทึกรายการค้าและการจัดทำงบการเงิน นอกจากนั้น หลักสูตรได้พิจารณาจัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมด้านเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับตัวในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยทั้งในด้านของการเข้าสังคม การอยู่ร่วมกัน การกำหนดเป้าหมายในการเรียน และวางแผนการใช้ชีวิตตลอดการเรียนในมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ชีวิตในการเรียนได้อย่างมีความสุขและสามารถเรียนตามแผนการศึกษาและสำเร็จการศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในด้านความรู้พื้นฐานด้านวิชาการ
เพื่อเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการทางด้านบัญชี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
KPI 1 : ความพร้อมนักศึกษาในด้านความรู้พื้นฐานด้านวิชาการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพบัญชีเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 4 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
360 คน 360
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ชื่อกิจกรรม :
การเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/08/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรินทร์  สารมาท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาจัดทำ Accounting Handbook จำนวน 340 เล่มๆละ 92 บาท เป็นเงิน 31,280 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 360 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 18,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 360 คนๆละ 70 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 25,200 บาท
4.ค่าเช่าห้องประชุม เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 77,980.00 บาท 77,980.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร
- บุคคลภายนอก จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 1,600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
- บุคคลภายใน จำนวน 2 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 800 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท
- บุคคลภายใน จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท 10,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 88380.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล