20454 : ประเมินภาวะการมีงานทำและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/4/2567 13:24:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/04/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  68  คน
รายละเอียด  ศิษย์เก่าสาขาวิชาการเงิน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 35 คน บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาการเงิน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 33 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ประภาพร  กิจดำรงธรรม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.3 ทบทวนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยให้ได้คุณภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องกับสถานการณ์แผน/ผลการรับนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-4 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด BA67-KPI-10 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ BA67-S-10 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คุณภาพการศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างรากฐานของการพัฒนาคนให้มีคุณธรรม และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งทั้งสองสิ่งล้วนเป็นพลังในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศให้ก้าวทันการแข่งขันที่ไม่หยุดนิ่งของโลก โดยการเตรียมความพร้อมของเยาวชนให้มีความเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นเรื่องที่ผู้สอน ผู้ปกครอง และ ผู้บริหารในระดับนโยบาย และระดับประเทศต้องให้ความสำคัญ ประเทศไทยจึงต้องมีการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ การประกันคุณภาพการศึกษาถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารการศึกษาในยุคปัจจุบันที่ จะแสดงกระบวนการที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อที่จะยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพ และสร้างความมั่นใจในคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา (สมภพ มูฮัมหมัด, 2561) ในปัจจุบันการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้ถูกผลักดันเข้าสู่ระบบการศึกษาในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะช่วยเตรียมความพร้อมให้นักศึกษามีทักษะการคิด ความคิดสร้างสรรค์ สื่อสาร การแก้ปัญหา และร่วมมือทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลไปตลอดชีวิต ดังนั้นเพื่อเป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การประเมินคุณภาพด้วยระบบการประกันคุณภาพการศึกษา AUN-QA (Asean University Network Quality Assurance) จึงมีการให้หลักสูตรมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน เพื่อวัดระดับผลสัมฤทธิ์ทางงการเรียนรู้ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน) จึงสนใจที่จะดำเนินการสำรวจภาวะการมีงานทำ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน) เพื่อใช้ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
เพื่อสำรวจผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายงานผลการสำรวจภาวะการมีงานทำ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
KPI 1 : รายงานผลการสำรวจภาวะการมีงานทำ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฉบับ 1
KPI 2 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
68 คน 68
KPI 3 : ระดับความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายงานผลการสำรวจภาวะการมีงานทำ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)
ชื่อกิจกรรม :
สำรวจภาวะการมีงานทำ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก การบริหารการเงินและการลงทุน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/04/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประภาพร  กิจดำรงธรรม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัดพงศ์  อวิโรธนานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปัณณวัฒน์  วังอนุสรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงนภา  สุขะหุต (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จิรายุ  หาญตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาเก็บรวมรวบและวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมจัดทำรูปเล่ม เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล