20450 : ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรการบัญชี พ.ศ. 2569
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/2/2567 8:20:50
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
19/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  392  คน
รายละเอียด  กลุ่มที่ 1 นักศึกษาปัจจุบัน จำนวน 200 คน ศิษย์เก่า จำนวน 50 คน ผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 10 คน ผู้สนใจศึกษา จำนวน 50 คน และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน กลุ่มที่ 2 นักศึกษาปัจจุบัน จำนวน 12 คน ศิษย์เก่าจำนวน 10 คน ผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 5 คน อาจารย์ในมหาวิทยาลัย จำนวน 5 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดลยา  ไชยวงศ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-4 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด BA67-KPI-10 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ BA67-S-10 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากหลักสูตรบัญชีบัณฑิต พ.ศ. 2564 ได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนมาจนถึงรอบการปรับปรุงหลักสูตรแล้ว เพื่อให้การปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2569 เป็นหลักสูตรที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียตามแนวคิดการจัดการศึกษาที่ใช้ผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นฐานหรือ Outcome-Based Education (OBE) ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการวางแผนและดำเนินการใดๆ ที่จะนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes: LO) หรือสิ่งที่คาดว่าผู้เรียน ผู้สอน ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า หลักสูตรบัญชีบัณฑิตได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ของหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อจะได้นำผลการศึกษาไปพัฒนา Program Learning Outcomes (PLOs) ของหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ดังนั้นหลักสูตรบัญชีบัณฑิต จึงมีความต้องการที่จะศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อจะเป็นข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อศึกษาถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
เพื่อนำผลงานวิจัยไปใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายงานผลวิจัยความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
392 คน 392
KPI 2 : รายงานความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อการปรับปรุงหลักสูตรบัญชี พ.ศ.2569
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฉบับ 1
KPI 3 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายงานผลวิจัยความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ชื่อกิจกรรม :
ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรการบัญชี พ.ศ. 2569 โดยใช้แบบสอบถาม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 19/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณี  ยศบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมจัดทำรูปเล่ม เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
ชื่อกิจกรรม :
ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรการบัญชี พ.ศ. 2569 โดยใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 19/02/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลยา  ไชยวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัชญา  ไพคำนาม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัชรินทร์  สารมาท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัตยา  ตันจันทร์พงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนียา  บังเมฆ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมจัดทำรูปเล่ม เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล