20335 : โครงการพัฒนาพื้นที่พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมการเกษตรไทยส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะวิชาการประมงและนวัตกรรมการผลิตสัตว์น้ำสู่การปฏิบัติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางอุไรภัสร์ ชัยเรืองวุฒิ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/8/2566 15:03:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/09/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เงินรายได้พัฒนานักศึกษาประจำปี 2566 2566 23,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง อุไรภัสร์  ชัยเรืองวุฒิ
นาย ประเสริฐ  ประสงค์ผล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. สร้างพื้นที่การเรียนรู้ (Co-Working Space) ทางศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 3.1 พัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้เป็นพื้นที่เชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมการเกษตรล้านนา และทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 66-3.1 จำนวนผู้เข้าใช้บริการ
กลยุทธ์ 66-3.1 พัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้เป็นพื้นที่เชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมการเกษตรล้านนา และทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาด้านกายภาพตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555-2569) ตามแผนยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาด้านการเกษตร ภายใต้การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ เพื่อพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้เป็นพื้นที่สำหรับการอนุรักษ์เรียนรู้ และเป็นการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับพันธกิจอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น การเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการ และเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากายภาพและภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์ (พื้นที่โซนวัฒนธรรม ประตูวิเวก เรือนธรรม สระเกษตรสนาน พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมการเกษตรไทย และพื้นที่ใกล้เคียง) ให้เป็นพื้นที่ “อัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ (66 ไร่)” ทั้งนี้ เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาด้านการเกษตร ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เห็นความสำคัญของการพัฒนาพื้นที่ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะ hard skill ด้านวิชาการประมงสู่การปฏิบัติจริง เป็นการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับการเรียนการสอนร่วมกับคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หลักสูตรสาขาวิชาการประมงและนวัตกรรมการผลิตสัตว์น้ำ วิชาหลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และวิชาการปฏิบัตงานฟาร์ม 3 เพื่อเพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมเกษตร ให้เหมาะสมกับการใช้พื้นที่จัดกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้เป็นพื้นที่เชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมการเกษตรล้านนา และทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะ hard skill ด้านวิชาการประมงสู่การปฏิบัติจริง
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทํางานด้านพื้นที่เชิงวัฒนธรรมแบบองค์รวมระหว่างอาจารย์ นักศึกษา และกองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้พัฒนาทักษะ hard skill ด้านวิชาการประมงและนวัตกรรมการผลิตสัตว์น้ำ
KPI 1 : ร้อยละความรู้/ประโยชน์ ที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : บูรณาการเข้ากับรายวิชาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 รายวิชา 2
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 คน 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้พัฒนาทักษะ hard skill ด้านวิชาการประมงและนวัตกรรมการผลิตสัตว์น้ำ
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาพื้นที่พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมการเกษตรไทยส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะวิชาการประมงและนวัตกรรมการผลิตสัตว์น้ำสู่การปฏิบัติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/09/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางอุไรภัสร์  ชัยเรืองวุฒิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คนๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. วัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (ใช้สำหรับเครื่องสูบน้ำ และรถดูดโคลน) ภายในวงเงิน 15,000 บาท
2. วัสดุการเกษตร (ปูนขาว ขนาดบรรจุ 10 กก.) จำนวน 20 ถุง ๆ ละ 65 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,300.00 บาท 16,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล