20238 : โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสิ้นค้าและบริการที่มีศักยภาพสูงด้วยภูมิปัญญาและนวัตกรรม (การผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา นาเทเวศน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในพื้นที่ตำบลบ่อแก้ว อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินสะสมเพื่อขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการที่มีศักยภาพสูงด้วยภูมิปัญญาและนวัตกรรม (การผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์) 2566 726,720.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา  นาเทเวศน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.21 66 AP ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 66 AP 2.3.5 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยังยืน โดยต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ Value Based Economy โดยต้องมีการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างน้อยใน 3 มิติสำคัญ คือ 1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3) เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น รวมถึงการมุ่งเป้าเพื่อยกระดับฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูงเพื่อให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ ยั่งยืน และมีธุรกิจบริการต่อเนื่องบริการสุขภาพตลอดจนผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ และมีมูลค่าสูง คณะผลิตกรรมการเกษตร คณะพัฒนาการท่องเที่ยว และ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เล็งเห็นว่าการจะตอบสนองนโยบายภาครัฐเพื่อยกระดับการผลิตอาหารที่มีมูลค่าสูงและสินค้าสมุนไพรเชิงสุขภาพและเชื่อมโยงการการท่องเที่ยวให้การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูงนั้น จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายปัจจัยหนึ่งที่เป็นปัจจัยใกล้ตัวที่สามารถพบได้ในท้องถิ่น คือ วิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาสุขภาพและวัฒนาธรรมการบริโภคพืชสมุนไพรและพืชพื้นถิ่น ผักท้องถิ่นที่มีคุณสมบัติในการป้องรักษาโรคตลอดจนมีองค์ประกอบของพฤกษเคมีที่สามารถนำไปใช้ ทั้งเพื่อการบริโภคเพื่อเป็นอาหาร สร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ทางยา เมื่อนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปผนวกกับองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพสูงร่วมกับการออกแบบบริการเชิงสร้างสรรค์ นับเป็นจุดร่วมระหว่างวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความเป็นเอกลักษณ์ ความยั่งยืน และประสบการณ์ เมื่อศาสตร์ทั้งเกษตร วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมได้หลอมรวมกันย่อมเป็นการนำไปสู่การยกระดับการท่องเที่ยวสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูงก็จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น โครงการการผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์จะเป็นโครงการที่จะผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบายที่กล่าวมาข้างต้นทั้งมิติของการสร้างนวัตกรรมบริการ การนำความคิดสร้างสรรค์มาต่อยอด และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงการสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้ทั้งเกษตรกร ผู้ประกอบการ และประเทศชาติต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมและสร้างรายได้ให้กับกลุ่มเกษตรกรโดยใช้ฐานพืชพื้นถิ่นที่มีมูลค่าสูง
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเทคนิค วิธีการปลูกจนกระทั่งการเก็บเกี่ยวที่ถูกต้อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์
KPI 1 : ผลผลิตสตรอว์เบอร์รี่ที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 กิโลกรัม 5000
KPI 2 : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมการผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรอว์เบอร์รี่ปลอดภัยแม่ยางห้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กลุ่ม 1
KPI 4 : ความเข้าใจและความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 % 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การผลิตสตรอว์เบอร์รี่คุณภาพสูงเชิงพาณิชย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยพาหนะส่วนตัว เบิกตามระยะทางจริง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,150.00 บาท 3,150.00 บาท 3,150.00 บาท 3,150.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 20 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,200.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท 28,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 คืน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 20 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
16,000.00 บาท 16,000.00 บาท 16,000.00 บาท 16,000.00 บาท 64,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตรสำหรับการฝึกอบรม จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ค้างคาวซากุระ , ตะกร้าพลาสติก ฯลฯ จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 340,548.00 บาท 340,548.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเคมีและวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือยางไนไตรล์สีขาว , หลอดทดลอง ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 519048.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การบริหารจัดการโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการประสานงานโครงการ จำนวน 1 คน ๆ ละ 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 , ปากกา ฯลฯ จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,672.00 บาท 22,672.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึก ฯลฯ จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 207672.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล