20128 : โครงการการเสวนา "พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางจิราพรรณ เคหา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/6/2566 15:16:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/07/2566  ถึง  21/07/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  250  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษาของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี และผู้สนใจเข้าร่วมจากหน่วยงานภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 28,250.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฬากร  ปานะถึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร  ธาราฉาย
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.2 เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านเกษตรอินทรีย์ของประเทศ (Organic Education Hub)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.4 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.2.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66-2.1.1 ผลิตบัณฑิตที่เป็นมืออาชีพด้านสัตวศาสตร์ (มืออาชีพ เน้น ทักษะเชิงปฏิบัติ, มีภาวะผู้นำ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21)
ตัวชี้วัด AS 66-2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 66-2.1.3 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับ หรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงาน และตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.8 พัฒนาหลักสูตร/รายวิชาที่จัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.9 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของนักศึกษาให้รองรับการแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด AS 66-2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 66-2.1.3 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับ หรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงาน และตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.8 พัฒนาหลักสูตร/รายวิชาที่จัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.9 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของนักศึกษาให้รองรับการแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565 เป็นพระราชบัญญัติที่มีผลบังคับใช้ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 โดยทุกสถาบันที่มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพสัตวบาลจะต้องดำเนินการภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการตามบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติโดยมีสภาการสัตวบาล (เฉพาะการ) ทำหน้าที่ออกอนุบัญญัติ (ข้อบังคับ) ต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติฯ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอการประกาศในราชกิจจานุเบกษา คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สาขาภาคเหนือ ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้พิจารณาเห็นว่าเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และยึดถือเป็นแนวปฏิบัติให้ถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ.2565 จึงเห็นควรให้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างความเข้าใจ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565” ขึ้น เพื่อพัฒนาความรู้และหาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565 ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวิชาชีพสัตวบาล พ.ศ. 2565
2.เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา และนักสัตวบาลจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปศุสัตว์ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ของประเทศ
3.เพื่อให้เกิดบูรณาการความร่วมมือ และเตรียมความพร้อมในการผลิตบัณฑิตสาขาสัตวบาล/สัตวศาสตร์ ระหว่างสถาบันการศึกษากับสมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีให้สอดคลองกับพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมได้รับแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวิชาชีพสัตวบาล พ.ศ. 2565
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 คน 250
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่เสร็จสิ้นในเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมได้รับแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวิชาชีพสัตวบาล พ.ศ. 2565
ชื่อกิจกรรม :
การเสวนา “พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. 2565”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/07/2566 - 21/07/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฬากร  ปานะถึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 250 คนๆละ 80 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 250 คนๆละ 25 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 26,250.00 บาท 0.00 บาท 26,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทน จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28250.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล