19776 : โครงการผลิตลูกปลา (ทับทิม/ดุก) บูรณาการกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ (อำเภอสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/2/2566 10:45:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 90 คน และผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ จำนวน 30 คน ได้แก่ เกษตรกร/ผู้สนใจทั่วไป นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนในพื้นที่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน 2566 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จงกล  พรมยะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จอมสุดา  ดวงวงษา
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม
อาจารย์ ดร. โดม  อดุลย์สุข
นาย สุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย
นาย ประเสริฐ  ประสงค์ผล
นาย เทพพิทักษ์  บุญทา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-66-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-66-2-27 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-66-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาและขับเคลื่อนการผลิตเกษตรอินทรีย์อย่างจริงจัง เกษตรกร/ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งเกษตรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนฐานการผลิตการเกษตรที่เข็มแข็งและยั่งยืนในชุมชนประเทศไทยเป็นประเทศที่สามารถผลิตอาหารเป็นครัวของโลกได้ เช่น การผลิตสัตว์น้ำมีผู้ต้องการบริโภคสัตว์น้ำจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก เนื่องจากเป็นอาหารสุขภาพตลอดจนสัตว์น้ำจากธรรมชาติลดลง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอาชีพนับวันมีความสำคัญมากขึ้น ปัจจุบันผู้บริโภคหันมาสนใจอาหารสัตว์น้ำที่ปลอดภัยและสัตว์น้ำอินทรีย์มากขึ้น หลักการใช้วัตถุดิบสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ คือ ต้องมีองค์ประกอบที่เป็นวัตถุดิบธรรมชาติหรือเกษตรอินทรีย์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 รวมทั้งต้องเป็นวัตถุดิบที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ เป็นกระบวนการผลิตสัตว์น้ำเพื่อให้ได้ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ ตามหลักการ และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มาตรฐาน มกท, 2555 (IFOAM); มาตรฐาน กรมประมง, 2550) โครงการผลิตลูกปลาทับทิม และปลาดุกบูรณาการกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ (อำเภอสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่) เป็นการสนับสนุนฐานเรียนรู้ชุมชนให้มีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตอาหารธรรมชาติบูรณาการกับการอนุบาลสัตว์น้ำ และการหารายได้ให้กับเกษตรกร ผู้สนใจ และนักศึกษาได้ช่วยเหลือชุมชนในยุคโควิด-19 ในการเชื่อมห่วงโซ่การผลิตตลอด Supply chain ของการผลิตลูกปลา และโครงการอยู่ในแผนแม่บทงานบริการวิชาการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 นโยบายประเทศไทย 4.0 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นโยบายการเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจด้วยฐานชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว (BCG model) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมถึงแผนพัฒนาภาคเหนือและกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ในแผนแม่บทงานบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) ได้ยึดแนวทางของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100 โครงการเรือธง (Flag Ships) ที่บรรจุในแผนพัฒนามหาวิทยาลัย แผน12 และข้อมูลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ภายในและภายนอกหน่วยงาน ซึ่งได้ครอบคลุมและได้เน้นประเด็นการเป็น มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco University) เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (University of Life) การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตอาหารธรรมชาติ และการผลิตสัตว์น้ำ เป็นการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมการประมงอัจฉริยะ (Smart Aqauculture) อีกทางหนึ่ง ในการพัฒนาเพิ่มศักยภาพการผลิตอาหารธรรมชาติ และการผลิต การจำหน่ายสัตว์น้ำให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งรัฐบาลมีนโยบาย “การพัฒนาเกษตรกร นักศึกษา/เยาวชนผู้ประกอบการ และผู้สนใจให้เป็น Smart Farmer เพื่อให้เกษตรกร นักศึกษา/เยาวชนผู้ประกอบการ ได้มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้มีความพร้อม มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการศึกษา การประกอบอาชีพด้านการประมง ตลอดห่วงโซ่คุณค่าการผลิตทางการประมง จึงต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ และทักษะเฉพาะหลายด้านที่จะสามารถขับเคลื่อน การพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมการประมง แก่เกษตรกร นักศึกษา เยาวชนผู้ประกอบการ และผู้สนใจ เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศ ได้แก่ แนวคิดการสร้างคนไทยในอนาคต คือ คนไทยต้องมีปัญญาเฉียบแหลม มีทักษะ มีจิตใจที่งดงาม มีสุขภาพที่แข็งแรง อยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข ก้าวไปสู่การเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล เศรษฐกิจที่เน้นความรู้เป็นฐาน และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนต่อไป (thanachart.org, 2017; มหาวิทยาลัยพะเยา, 2559) จากนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ต้องการให้ประเทศปรับตัวในการรองรับกับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ด้วยการสนับสนุน และส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดย่อม สร้างความยั่งยืนในระบบเศรษฐกิจฐานราก ซึ่งจะเป็นตัวขับเคลื่อน ระบบเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศผลักดันให้เกิดผู้ประกอบการใหม่ ดังนั้น คณะเทคโนโลยีการประมง และทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้ทำโครงการผลิตลูกปลาทับทิม และดุกบูรณาการกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ (อำเภอสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่) เป็นการเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมงอัจฉริยะ (Smart Fisheries) แก่เกษตรกร นักศึกษา เยาวชน และผู้สนใจ ในฐานเรียนรู้ชุมชน และในคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อส่งเสริมเกษตรกร นักศึกษาหารายได้ และพัฒนาเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ตลอด Supply chain ให้เป็นผู้อุดมด้วยปัญญา เป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญในการบริหารงานต้นแบบของชุมชน/สังคม เมื่อเรียนจบการศึกษา นักศึกษาสามารถนำความรู้กลับไปพัฒนาบ้านเกิดเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกร สังคม ชุมชน ในการพัฒนาประเทศให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ (โปรดระบุชื่อโครงการพระราชดำริ/ประเภทของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ) ในโครงการพัฒนาด้านการเกษตร..และ โครงการได้นำองค์ความรู้/ผลงานวิจัย รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-062/61-084.1 เรื่อง การผลิตสาหร่ายสไปรูลินา ในน้ำทิ้งจากฟาร์มปลาดุก เพื่อผลิตอาหารปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับ SDG3: การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี SDG 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และ SDG 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน โครงการบริการวิชาการบูรณาการ ที่เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารและความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีเกษตรกรรมยั่งยืนแก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิตอาหาร /สิ่งอำนวยความสะดวกของมหาวิทยาลัย (เช่นห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีสต๊อกพืช ศูนย์เกษตรอินทรีย์) แก่เกษตรกรในพื้นที่และผู้ผลิตอาหารเพื่อปรับปรุงแนวทางการทาการเกษตรอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ความรู้และสอนปฏิบัติการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน (ไรแดง/สไปรูลิน่า) นำมาบูรณาการเป็นอาหารลูกปลาทับทิม/ปลาดุกแก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ
เพื่อให้ความรู้และสอนปฏิบัติการเพาะอนุบาลและจำหน่ายลูกปลาทับทิม/ดุก แก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ
เพื่อสร้างรายได้แก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ จากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว โดยใช้ทรัพยากรในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ สนองแนวคิดตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงร่วมรักษาระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาชุมชนให้มีความพอดี พอเพียงมีชีวิตที่ดี และยั่งยืนต่อไป
เพื่อให้มีฐานเรียนรู้ การพัฒนาอาชีพเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน/เพาะอนุบาล และจำหน่ายลูกปลา ให้แก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ ใช้ประโยชน์องค์ความรู้จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองแก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ
สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ด้านการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน การเพาะอนุบาล และจำหน่ายลูกปลาสร้างรายได้ เป็นต้นแบบแก่เกษตรกร เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจในชุมชน จากกิจกรรมต้นน้ำถึงปลายน้ำมีผลผลิตด้านการประมงจำหน่ายอย่างยั่งยืนต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการผลิตลูกปลาทับทิม และปลาดุกบูรณาการกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ (อำเภอสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่)
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนฐานเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ฐาน 2
KPI 3 : ร้อยละของรายได้เกษตรกรและผู้สนใจในชุมชนเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 คน 90
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ ในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมประมง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.35 ล้านบาท 0.35
KPI 9 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 10 : ร้อยละของผู้เข้าอบรมที่นำองค์ความรู้ไปต่อยอดเป็นอาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 11 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการผลิตลูกปลาทับทิม และปลาดุกบูรณาการกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ (อำเภอสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 เตรียมพื้นที่และเครือข่ายเกษตรกรและผู้สนใจ ในพื้นที่ชุมชนจัดเตรียมฐานเรียนรู้ชุมชน วัสดุอุปกรณ์/รวบรวมองค์ความรู้/คู่มือฝึกอบรม การเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน/การเพาะอนุบาล/จำหน่ายลูกปลาของทีมนักวิชาการ เช่น
1)ระบบ Smart farm การเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน และเตรียมอาหารสัตว์น้ำ
2) ระบบ Smart farm การเพาะ/อนุบาล/จำหน่ายลูกปลาทับทิม และลูกปลาดุก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2566 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 2 ผืนๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 10 คนๆ ละ 100 บาท 10 วัน เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น กระชังบก สวิง อาหารปลา วัตถุดิบอาหารสัตว์ ฯลฯ เป็นเงิน 80,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 80,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารอาหารเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน ฯลฯ เป็นเงิน 47,538 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 47,538.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 47,538.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อPVC เชือกผูกกระชัง ไม้อัด ไม้ทำโรงเรือน พลาสติกโรงเรือน ฯลฯ เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังน้ำพลาสติก กะละมัง ฯลฯ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟ หลอดไฟ สวิทไฟ ฯลฯ เป็นเงิน 39,933 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 39,933.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 39,933.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ แฟ้ม ปากกา ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 18,629 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 18,629.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,629.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 12,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 299600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้บรรยาย/ปฏิบัติการระบบSmart farm เพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน (ไรแดง+สไปรูลิน่า) 2 พื้นที่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 31/03/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้บรรยาย/ปฏิบัติการระบบSmart farm เพาะอนุบาลลูกปลาทับทิมและลูกปลาดุก (2 พื้นที่)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 28/04/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้ปฏิบัติการจำหน่ายพันธุ์ปลาonsite และonline เพื่อสร้างรายได้เกษตรกร/ผู้สนใจในชุมชนเพิ่มขึ้น จากเดิม 10% (2 พื้นที่)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2566 - 31/07/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 รายงานการติดตามตรวจเยี่ยม/ประเมินผล/ตามตัวชี้วัด สรุปผลรายงานผลฉบับสมบูรณ์ (2 พื้นที่)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2566 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล