19760 : โครงการ AUN-QA Implement and GAP Analysis
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางวันทินี ปิ่นแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/2/2566 17:42:04
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/03/2566  ถึง  16/03/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย : จำนวน 100 คน ประกอบด้วย : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร / อาจารย์ผู้สอน / ผู้ปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรและคณะ / บุคลากรกองพัฒนาคุณภาพ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองพัฒนาคุณภาพ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยในความรับผิดชอบของผู้บริหาร (รศ.ดร.ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ) ประจำปีงบประมาณ 2566 2566 80,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง จุดารัตน์  ชิดทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง วราภรณ์  ฟูกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองพัฒนาคุณภาพ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.9 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีแผนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ระยะ 10 ปี โดยใน ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป มหาวิทยาลัยจะนำระบบการประเมินคุณภาพภายใน ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA) มาใช้ในการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ในระดับหลักสูตร ทั้งนี้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน AUN-QA ได้มุ่งสู่การจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Expected Learning Outcomes) ไปสู่ผลลัพธ์ (Outcome-based Education) โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-Centered) ซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญหลักที่มหาวิทยาลัยจะผลักดันให้สามารถบริหารจัดการหลักสูตรด้วยเกณฑ์ AUN-QA เพื่อให้สามารถพัฒนาหลักสูตรให้ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ AUN-QA ซึ่งจะส่งผลดีต่อการศึกษาของมหาวิทยาลัยและก้าวสู่ความเป็นนานาชาติได้ สำหรับการดำเนินงานที่ผ่านมา ยังพบว่า การเขียนรายงานการประเมินตนเองของหลักสูตรยังไม่ครอบคลุมขอบเขตและสิ่งที่เกณฑ์หรือตัวชี้วัดกำหนด ยังขาดความครบถ้วนของการเขียนตามวงจรคุณภาพ P-D-C-A ยังคงมีช่องว่างหรือสิ่งที่ขาดหายไป (GAPs) ระหว่างเป้าหมายที่วางไว้กับผลการดำเนินงานที่มีอยู่ ทำให้รายงานการประเมินตนเองยังไม่สมบูรณ์และไม่ตอบต่อสิ่งที่เกณฑ์หรือตัวชี้วัดกำหนด ซึ่งควรมีการวิเคราะห์ถึงสิ่งเหล่านี้ เพื่อให้มองเห็นสิ่งที่ยังเป็นช่องว่าง ทราบถึงจุดที่ต้องพัฒนาเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้ ในการนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้จัดโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ เรื่อง AUN-QA : GAP Analysis เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์ถึงช่องว่าง ที่ยังไม่ได้ดำเนินการหรือพัฒนา และนำสิ่งที่วิเคราะห์ได้มาจัดทำรายงานการประเมินตนเองเพื่อให้ มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ผู้เข้าอบรมเข้าใจวัตถุประสงค์และสาระของเกณฑ์ AUN QA
2. ผู้เข้าอบรมสามารถนำกรอบแนวคิดและสาระของเกณฑ์ AUN QA ไปพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตร
3. ผู้เข้าอบรมสามารถวิเคราะห์หาประเด็นที่ควรนำไปพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการหลักสูตรโดยใช้แนวคิดจากเกณฑ์ AUN QA เพื่อจัดทำแผนพัฒนา/บริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนได้อย่างสอดคล้อง
4. ผู้เข้าอบรมมีแนวทางในการประเมินตนเองและสามารถเขียนรายงานการประเมินตนเองได้อย่างสอดคล้องกับสาระของเกณฑ์ AUN-QA
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ สาระของเกณฑ์ AUN-QA และสามารถนำไปพัฒนาบริหารจัดการหลักสูตรได้
KPI 1 : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ สาระของเกณฑ์ AUN-QA และสามารถนำไปพัฒนาบริหารจัดการหลักสูตรได้ในระดับดี
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 เฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ สาระของเกณฑ์ AUN-QA และสามารถนำไปพัฒนาบริหารจัดการหลักสูตรได้
ชื่อกิจกรรม :
โครงการ AUN-QA Implement and GAP Analysis

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/03/2566 - 16/03/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางจุดารัตน์  ชิดทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนX 35 บาท X 2 มื้อ X 2 วันเป็นเงิน 14,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน X 150 บาท X 1 มื้อ X 2 วันเป็นเงิน 30,000 บาท
3. ค่าธรรมเนียมห้องประชุม จำนวน 2,500 บาท X 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าธรรมเนียมห้องอาหาร จำนวน 500 บาทX 2 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
5. ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 1,500 บาท X 1 ห้อง X 2 คืน เป็นเงิน 3,000 บาท
6. ค่าเดินทางวิทยากร-เครื่องบิน จำนวน 3,500 บาท X 2 เที่ยว เป็นเงิน 7,000 บาท
7. ค่าเดินทางวิทยากร-รถรับจ้าง จำนวน 500 บาท X 2 เที่ยว เป็นเงิน 1,000 บาท
8. ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารและเข้าเล่ม จำนวน 100 ชุด X 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 66,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 66,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน X 6 ชั่วโมง X ชั่วโมงละ 1,200 บาท X 2 วัน เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล