19613 : โครงการผลิตสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและการท่องเที่ยวเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ตำบลหัวเมือง อำเภอสอง จังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2566 15:45:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  ประชาชนและผู้สนใจการผลิตสื่อการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ของฝากจากท้องถิ่น
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. อำนวยพร  ใหญ่ยิ่ง
อาจารย์ ดร. เกษราพร  ทิราวงศ์
อาจารย์ ดร. สมบัติ  กันบุตร
อาจารย์ อโนชา  สุภาวกุล
นาย สิทิไวกูล  ทิราวงศ์
นาง ธนันธรณ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.6 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการ แก่ชุมชน / สังคม
กลยุทธ์ 66-3.1.6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการ แก่ชุมชน/สังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและงานบริการ สร้างเศรษฐกิจ อาชีพ และรายได้ เป็นอันดับต้นของประเทศ ด้วยความเป็นประเทศไทยมีความพร้อมด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว ทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นอัตลักษณ์โดดเด่น และสามารถสร้างโอกาสการเพิ่มมูลค่าทรัพยากรการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ สังคม และยังช่วยในการอนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่ อีกทั้งการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่นอันเป็นรากฐานสำคัญของประเทศ สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยวหลากหลายรูปแบบ เช่น การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็นต้น ปัจจุบันมีหน่วยงานมากหมายให้การส่งเสริมการท่องเที่ยวไปสู่เจ้าของแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบผลผลิตทางการเกษตรที่มีความปลอดภัยสู่ความเป็นเกษตรอินทรีย์ ซึ่งส่วนใหญ่ชุมชนมีศักยภาพการดำเนินงานและมีความพร้อมด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย แต่ด้วยความทันสมัยแบบก้าวกระโดดทางด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการสื่อสารออนไลน์มีบทบาทสำคัญในการเป็นปัจจัยกระตุ้นนักท่องเที่ยวและแหล่งให้ข้อมูลออนไลน์ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญของการเรียนรู้และเพิ่มทักษะการสื่อสารออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ การติดต่อ การให้ข้อมูล ตลอดจนช่องทางการตลาดการท่องเที่ยวและสินค้าของฝากจากท้องถิ่น ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการผลิตสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและการท่องเที่ยวเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ตำบลหัวเมือง อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ที่มุ่งหวังให้ประชาชนสามารถออกแบบผลิตสื่อออนไลน์ได้ด้วยตนเอง และทันต่อเหตุการณ์ในกระแสห่วงโซ่เศรษฐกิจ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสื่อออนไลน์
2 เพื่อให้ชุมชนมีทักษะการผลิตสื่อออนไลน์การท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึกการท่องเที่ยว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและการท่องเที่ยวเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ตำบลหัวเมือง อำเภอสอง จังหวัดแพร่
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่นำองค์ความรู้ไปต่อยอด/สร้างอาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนสื่อออนไลน์ที่ได้นำมาใช้ประโยชน์ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 เรื่อง 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและการท่องเที่ยวเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ตำบลหัวเมือง อำเภอสอง จังหวัดแพร่
ชื่อกิจกรรม :
การผลิตสื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและการท่องเที่ยวเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ตำบลหัวเมือง อำเภอสอง จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.อำนวยพร  ใหญ่ยิ่ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เกษราพร  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อโนชา  สุภาวกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 3 วัน ๆ ละ 45 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 9,450 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 3 วัน ๆ ละ 45 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 20,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 29,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 29,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 กระดาษบรู๊ฟ ปากกาลูกลื่น แฟ้ม ถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 5,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล