19612 : โครงการต้นแบบสวนเห็ดป่าในพื้นที่สวนชาเมี่ยง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2566 14:59:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรที่ปลูกชาเมี่ยงและที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
อาจารย์ ดร. อิสรีย์  ฮาวปินใจ
อาจารย์ ศิริลักษณ์  สุขเจริญ
อาจารย์ ธิติ  วานิชดิลกรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้
กลยุทธ์ 66-3.1.3.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่าให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชาเมี่ยง เป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ปัจจุบันการทำสวนชาเมี่ยงได้ลดจำนวนลงจากหลายๆ สาเหตุ เช่น มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่ได้รับผลตอบแทนสูงกว่า บางพื้นที่ขาดการจัดการสวนเมี่ยง และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ธนากร และคณะ (2563ก) ได้ทำการศึกษาลักษณะนิเวศและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินสวนชาเมี่ยง ในพื้นที่ภาคเหนือประเทศไทยในพื้นที่จังหวัดแพร่ น่าน ลำปาง และเชียงใหม่ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากสวนชาเมี่ยงเป็นพืชเชิงเดี่ยวมากขึ้น ซึ่ง ธนากรและคณะ (2563ข) ได้ทำการศึกษาการสร้างรูปแบบสวนไม้มีค่าเพาะเห็ดป่ากินได้ ในพื้นที่จังหวัดแพร่ และทำการปลูกฟื้นฟูเพื่ออนุรักษ์แหล่งพันธุกรรมของชาเมี่ยงในพื้นที่จังหวัดแพร่ อำเภอเมือง ตำบลป่าแดง บ้านแม่ลัว เมื่อปี 2565 เป็นงานบริการวิชาการด้านการเพิ่มมูลค่าในพื้นที่สวนชาเมี่ยงจากการขยายผลต่อเนื่องจากงานวิจัยเมื่อปี 2562-2564 คณะผู้วิจัยได้ทำ การศึกษาในสวนชาเมี่ยงภาคเหนือประเทศไทย เมื่อปี 2562 ธนากร และคณะ (2563ก) พบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในสวนชาเมี่ยงมีพื้นที่ลดลงและเปลี่ยนแปลงเป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและการค้ามากขึ้นซึ่งถ้ามีอัตราการเปลี่ยนแปลงดังเช่นปัจจุบันจะทำให้ป่าต้นน้ำลำธารในภาคเหนือจะลดลงอย่างรวดเร็วและมีผลกระทบอย่างอื่น ๆ เป็นลูกโซ่ คณะผู้วิจัยและบริการวิชาการได้เล็งเห็นว่าพื้นที่จังหวัดน่านมีพื้นที่สวนชาเมี่ยงเป็นจำนวนมาก และกำลังถูกเปลี่ยนแปลงเป็นพืชเกษตรเชิงเดี่ยวมากขึ้น จึงจำเป็นจะต้องฟื้นฟูต้นน้ำให้มีความอุดมสมบูรณ์ไวขึ้น และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่สวนชาเมี่ยงรวมทั้งสร้างแปลงต้นแบบเพื่อเป็นตัวอย่างในการเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดน่าน ควบคู่กับการสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับพื้นที่สวนชาเมี่ยงบนพื้นที่ต้นน้ำที่สำคัญของประเทศไทย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างต้นแบบหมู่บ้านในจังหวัดน่าน
2 เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูสวนชาเมี่ยงในพื้นที่ต้นน้ำภาคเหนือ (ต้นแบบหมู่บ้านในพื้นที่ในจังหวัดน่าน)
3 เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารและสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่สวนชาเมี่ยงโดยจัดทำสวนต้นแบบนำร่องให้กับเกษตรกรผู้ปลูกสวนชาเมี่ยงในพื้นที่จังหวัดน่าน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ต้นแบบสวนเห็ดป่าจำนวน 3 แปลง
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขากรและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนแปลงต้นแบบสวนเห็ดป่า (ตามวัตุประสงค์ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 และ ข้อที่ 3 สนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อนุรักษ์และฟื้นฟูสวนชาเมี่ยงในพื้นที่ต้นน้ำภาคเหนือ สร้างต้นแบบหมู่บ้านในจังหวัดน่าน และสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่สวนชาเมี่ยง มีการปลูกเพิ่มจำนวน 100 ต้น ต่อไร่ รวม 300 ต้น และหยอดเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 แปลง 3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ต้นแบบสวนเห็ดป่าจำนวน 3 แปลง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การสาธิตการปลูกต้นชาเมี่ยงเพื่อเป็นต้นแบบสวนเห็ดป่าพร้อมหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้
กิจกรรมที่ 2 การติดตามผลการเจริญเติบโต กล้าชาเมี่ยง จำนวน 300 ต้น จำนวน 3 แปลงในจังหวัดน่าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาถางวัชพืชและดูแลแปลง จำนวนพื้นที่ 3 ไร่ ๆ ละ 1,500 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 4,500 บาท
2. ค่าจ้างเหมาเพาะกล้าชาเมี่ยง จำนวน 300 ต้น ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
3. ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลในพื้นที่แปลงปลูกชาเมี่ยงจับพิกัดโดยการใช้ GPS ในการทำแผนที่ปลูกต้นชาเมี่ยง จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ไร่ ๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
4.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 1 คน ๆ ละ 12 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 2,880 บาท
4.2 ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว ระยะทาง จำนวน 197 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 6,304 บาท
4.3 ค่าที่พัก (เหมาจ่าย) จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 วัน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 48,584.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 48,584.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น เชื้อเห็ดตับเต่า ฯลฯ เป็นเงิน 1,200 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสารขาวดำ A4 จำนวน 432 แผ่น ๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 216 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,416.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,416.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล