19607 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2566 11:26:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก/สมุนไพร กลุ่มแปรรูปสมุนไพรบ้านนาราบ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส  เชิงปัญญา
อาจารย์ ดร. อภิรดี  เสียงสืบชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์
อาจารย์ ดร. จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.7 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 66-3.1.7.1.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พื้นที่ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดแพร่ เป็นพื้นที่มีการปลูกข้าวเป็นพืชหลัก และยังมีการปลูกพืชผักและสมุนไพรเป็นพืชรอง มีประชาชนรวมกลุ่มกันแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ อาทิเช่น น้ำมันเหลือง ยาหม่อง เป็นต้น ในปีงบประมาณ 2565 พื้นที่ตำบลนาน้อยได้มีโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล (U2T for BCG) เข้าไปดำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยได้เน้นการส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจักสานไม้ไผ่ การปรับปรุงคุณภาพบรรจุภัณฑ์สมุนไพร การส่งเสริมการขาย อย่างไรก็ตาม ยังพบว่ากลุ่มผู้ปลูกพืชสมุนไพรยังขาดองค์ความรู้และแนวทางในการปลูกพืชแบบปลอดภัย/อินทรีย์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพสมุนไพรแปรรูป และสุขภาพของผู้บริโภค นอกจากนั้นการปลูกพืชผักสมุนไพรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เป็นกิจกรรมที่หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นอยากให้มหาวิทยาลัยเข้ามาส่งเสริมและสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้และแนวทางการปลูกพืชแบบปลอดภัย/อินทรีย์ในพื้นที่ด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงควรจัดให้มีการบริการวิชาการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ เพื่อส่งเสริมให้มีปัจจัยและวิธีการผลิตพืชผัก/สมุนไพร ที่ปลอดภัยต่อเกษตรกร กลุ่มผู้แปรรูป และผู้บริโภคสมุนไพรแปรรูปยิ่งขึ้น โครงการนี้เป็นโครงการที่สอดคล้องกับโครงการเกษตรอินทรีย์เศรษฐกิจพอเพียง (โครงการในพระราชดำริ) ซึ่งเน้นสร้างผลผลิตจากธรรมชาติโดยไม่ใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนหรือสารพิษตกค้างในระบบเกษตรและสิ่งแวดล้อม ทำการบริหารการทำการเกษตรโดยใช้ปัจจัยเท่าที่มีอยู่ในการทำให้เกิดผลผลิตที่มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ และใช้ต้นทุนต่ำในการผลิต อีกทั้งยังเป็นโครงการที่สอดคล้องกับแนวคิด BCG ซึ่งเน้นการสร้างปัจจัยการผลิตเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่แล้วในชุมชนและการสร้างปัจจัยการผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
2 เพื่อส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว
3 เพื่อเสริมสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้ลงพื้นที่ชุมชนเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมมีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : ร้อยละรายได้ที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ร้อยละ 3
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนเทคโนโลยีการปลูกพืชผักสมุนไพร ที่นำมาถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 6 : จำนวนครั้งในการจัดอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 10 : จำนวนนักศึกษาที่ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 11 : ร้อยละของผู้รับบริการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 12 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมมีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 3 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 3 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 1.2 x 3 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 540 บาท เป็นเงิน 540 บาท
4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
4.1 ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว เดินทางไป-กลับ ม.แม่โจ้-แพร่ฯ-ที่ว่าการอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จำนวน 2 คัน ๆ ละ 176 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 1,408 บาท
4.2 ค่าที่พัก จำนวน 2 ห้อง ๆ ละ 3 คืน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,748.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,748.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 วัน ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 8,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ฟางข้าว ขี้วัว เมล็ดพันธุ์ผัก เป็นเงิน 16,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรูฟ ปากกาไวท์บอร์ด แฟ้ม คลิปหนีบกระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,152 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์สี่สี เป็นเงิน 1,600 บาท
4. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงพลาสติก เป็นต้น เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,752.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,752.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล