19582 : อบรม Data Center คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2566 9:29:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
18/01/2566  ถึง  31/03/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  13  คน
รายละเอียด  บุคลากรคณะบริหารธุรกิจและผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าลงทะเบียน จำนวน 7 คนๆละ 4,300 บาท เป็นเงิน 30,100 บาท 2566 30,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิยะดา  ชัยเวช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. จำเนียร  บุญมาก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA66-G-15 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด BA66-KPI-25 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA66-S-43 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในโลกธุรกิจปัจจุบันท่ามกลางกระแสการแข่งขันอย่างรุนแรง รวมทั้งเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การที่องค์กรจะสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงธุรกิจ (Data Analytics) ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การแข่งขันแบบเดิม ๆ เช่น การสร้างความน่าสนใจให้ผู้บริโภคเพิ่มขึ้น โดยการผลักดันผลิตภัณฑ์หรือการบริการใหม่ ๆ เพื่อให้ผู้บริโภคมีทางเลือกที่เพิ่มขึ้น วิธีการนี้อาจส่งผลให้องค์กรมียอดขายที่เพิ่มขึ้น หรืออาจมีกำไรที่เพิ่มขึ้นแต่วิธีการนี้ไม่สามารถสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งได้อย่างยั่งยืน เพราะไม่นานคู่แข่งก็จะพัฒนาและนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีคุณสมบัติไม่แตกต่างจากสินค้าของบริษัทเข้ามาแข่งขันในตลาด และยังมีความได้เปรียบในการแข่งขันด้านราคา เนื่องจากไม่ต้องมีต้นทุนการโฆษณาผลิตภัณฑ์หรือการบริการเพื่อเข้าสู่ตลาดเป็นรายแรก การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมหาศาลแสดงให้เห็นประโยชน์ต่างๆ ก็คือ ความรวดเร็วและประสิทธิภาพ ขณะที่หลายปีก่อนหน้านั้น หลายธุรกิจต้องรวบรวมข้อมูล ดำเนินการวิเคราะห์ และค้นหาข้อมูลที่สามารถนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจในอนาคตได้ ส่วนในทุกวันนี้ ธุรกิจสามารถระบุข้อมูลเชิงลึกสำหรับการกระทำที่ต้องการการตัดสินใจอย่างทันท่วงที ความสามารถในการทำงานได้เร็วขึ้นและยังคงไว้ซึ่งความคล่องตัว ช่วยให้องค์กรสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขันอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน การวิเคราะห์ข้อมูล หรือ “Data Analytics” คือกระบวนการนำข้อมูลที่ได้จากการจัดเก็บด้วยวิธีต่าง ๆ นำมาเรียบเรียง จัดระเบียบ แยกประเภทชุดข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลเพื่อนำมาใช้เพื่อตอบคำถามวัตถุประสงค์ที่ผู้วิคราะห์ต้องการหาคำตอบ โดยผลสุดท้ายของการวิเคราะห์ข้อมูลจะออกมาเป็นข้อมูลเชิงลึก (Insight) หรือข้อสรุปของข้อมูล (Conclusion) ในส่วนของความสำคัญและประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ช่วยในการวิเคราะห์ภาพรวมของสถานการณ์การที่เรามีข้อมูลอยู่ในมือนั้นเมื่อเราเอามาคิดวิเคราะห์จะทำให้เราสามารถมองภาพรวมของสถานการณ์ของปัญหาได้ชัดเจน เมื่อเรามองเห็นจุดที่มีปัญหาเราก็สามารถหาวิธีการที่จะจัดการกับปัญหาได้ดีและแก้ปัญหาได้อย่างตรงจุด ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างตรงจุดโดยส่วนใหญ่เวลาเกิดปัญหาเรามักจะมองข้ามจุดสำคัญไปเนื่องจากเราขาดกระบวนการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์ ซึ่งกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลนอกจากจะช่วยให้เราหาความสัมพันธ์ระหว่างต้นเหตุของปัญหากับปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วยังช่วยหาแนวทางในการจัดการกับปัญหาอีกด้วย เมื่อเราเจอวิธีการแก้ปัญหาที่ตรงจุดก็จะช่วยในการประหยัดเวลาในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ช่วยกำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อทำการตลาดปัญหาของการกำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อทำการตลาดคือการที่เรามีข้อมูลลูกค้ามากจนเกินไปทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาจัดกลุ่มเพื่อหากลุ่มเป้าหมายได้ ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลนอกจากจะช่วยในการหาความสัมพันธ์ของข้อมูลแล้ว ยังช่วยในการนำความสัมพันธ์เหล่านั้นมาจัดกลุ่มทำให้เกิดกลุ่มของข้อมูลที่มีปัจจัยคล้ายคลึงกันจนทำให้สามารถกำหนดกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายได้ และช่วยในการคาดการณ์อนาคตปัญหาของการทำธุรกิจคือการที่เราไม่สามารถทำนายได้ว่าอนาคตสภาวะเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร การที่เรามีข้อมูลแล้วเรานำเอามาวิเคราะห์จะช่วยให้เราสามารถหาแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ซึ่งเมื่อเรามองเห็นแนวโน้มจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจในเรื่องสำคัญได้อย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดโครงการอบรมเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับศูนย์/ฝ่าย/แผนก Data Center ของธุรกิจ
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานและเกิดประโยชน์ต่อการนำไปวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจและสามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลในการดำเนินงานการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
13 คน 13
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจและสามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลในการดำเนินงานการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ระดับความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจและสามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลในการดำเนินงานการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ
ชื่อกิจกรรม :
การอบรม Data Center คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/01/2566 - 25/01/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วินัย  บังคมเนตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 13 คนๆละ 150 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,900 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คนๆละ 35 บาท 4 มื้อ เป็นเงิน 1,820 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,720.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,720.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละๆ 1,200 บาท จำนวน 8 ชม. จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 19,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุในการอบรม จำนวน 14 ชุด ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,680 บาท
2.ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 14 ชุดๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 490 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,170.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,170.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
1.ค่าสาธารณูปโภค เป็นเงิน 3,010 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,010.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,010.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล