19342 : โครงการนวัตกรรมภูมิทัศน์เพื่อการพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองยั่งยืน (66-2.6.5)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.สุทธิพร ฟังเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/1/2566 10:56:47
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน. 120 คน และ 1 องค์กร ประกอบด้วย โครงการย่อยที่ 1 จำนวน 30 คน โครงการย่อยที่ 2 จำนวน 30 คน โครงการย่อยที่ 3 จำนวน 60 คน และ 1 องค์กร โดยบริบทกลุ่มเป้าหมายจากหน่วยงาน ชุมชนท้องถิ่น ผุ้สนใจในเขตพื้นที่ปริมณฑลเมืองเชียงใหม่ รอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และประชาชนท้องถิ่นใกล้เคียง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2566 243,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรี  เหมสันต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บรรจง  สมบูรณ์ชัย
อาจารย์ ดร. ทำเนียบ  อุฬารกุล
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.3 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.9 ปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัยที่อื้อต่อการแสวงหารายได้จากการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.8(64-68)-FAED การพัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 2.21FAED65 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-2.8.3(64-68) จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชาการของคณะ
ตัวชี้วัด 2.18FAED65 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.8.1(64-68) สนับสนุนการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมากขึ้น และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.8.6(64-68) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นตามบริบท อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การบริการวิชาการ การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศาสตร์พระราชา องค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน จากปฐมพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงมีพระราชดำรัสว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” ตลอดระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติ พระองค์ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจตามที่ได้มีพระราชดำรัสไว้อย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการพัฒนาเพื่อปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยให้เกิดความมั่นคงและมีความสุขอย่างแท้จริง ทั้งนี้ สิ่งต่าง ๆ ที่พระองค์ทรงทดลอง ทรงริเริ่ม และทรงแนะนำให้หน่วยงานหรือประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ ได้ก่อให้เกิดองค์ความรู้อย่างมากมายที่เรียกว่า“ศาสตร์พระราชา”ซึ่งเป็นสิ่งที่เมื่อนำมาปฏิบัติแล้วจะเกิดผลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตจนเป็นที่ประจักษ์แก่ประชาชนชาวไทยตลอดจนนานาประเทศ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ประกอบด้วยหลักสำคัญ คือ จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะหลักการนำทาง ประกอบด้วยสามห่วง สองฐาน คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตน มีฐานความรู้ และ ฐานคุณธรรม และ วิธีการของศาสตร์พระราชา คือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยต้องเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา คน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เข้าใจ หมายถึง การใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว การใช้และแสวงหาข้อมูลเชิงประจักษ์ การวิเคราะห์และการวิจัย การทดลองใช้จนได้ผลจริงก่อน เข้าถึง หมายถึง การระเบิดจากข้างใน เข้าใจกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา และสร้างปัญญาสังคม พัฒนา หมายถึง การพัฒนาที่ประชาชนเริ่มต้นด้วยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ และมีต้นแบบในการเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนได้เรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้ การประยุกต์แห่งศาสตร์พระราชา ต้องทำให้ด้วยความรัก ความปรารถนาและด้วยใจ ต้องประยุกต์ใช้อย่างยั่งยืน ไม่ยึดติดตำรา ปรับตามบุคคล ภูมิสังคม สภาพพื้นที่และสถานการณ์ อันเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ร่วมกับนโยบายการพัฒนาชุมชนด้าน Green & Eco-University and Community ได้มีการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการที่สามารถส่งเสริมสนับสนุนมหาวิทยาลัยและชุมชนเมืองต่างๆ ทั้งในภูมิภาคภาคเหนือ และภาคอื่นๆ ของประเทศ เพื่อการยกระดับขีดความรู้ ความสามารถด้านสิ่งแวดล้อมเขียว ตลอดจนวัฒนธรรมความเชื่อและประวัติศาสตร์พื้นที่ที่สอคล้องกับยุทธศาสตร์และภูมิสังคมท้องถิ่นในทุกมิติด้านต่างๆ รวมถึงวิถีทางการเกษตรให้แก่ชุมชน สังคมท้องถิ่น สู่ความยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากภาควิชาการสู่ภาคประชาชน หน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ ของชุมชนและเมือง เพื่อเป็นที่พึ่งของท้องถิ่น ชุมชนและสังคม ดังนั้นในการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อมของภูมิทัศน์ชุมชนและเมือง กับการวางแผนพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตร จึงเป็นประเด็นที่ควรให้ความสำคัญตามแนวคิดหนึ่งของศาสต์พระราชา และเพื่อการเติบโตอย่างชาญฉลาด“Smart Growth” ของชุมชนเมือง ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และขจัดจุดอ่อนที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อันเป็นฐานการผลิตและการให้บริการ ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของคนไทย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้นวัตกรรมภูมิทัศน์ด้านรุกขกรรมพัฒนาคนให้เป็น “รุกขกร” ที่มีทักษะ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาแนวคิดและหลักปฏิบัติที่ดีต่อสุขภาวะของต้นไม้ใหญ่อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ด้าน “การจัดการ ดูแล เสริมความงาม และฟื้นฟูต้นไม้ใหญ่” โดยหลักการกายและใจ...เรียนรู้ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ต่อยอด ขยายผล เพื่อสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดี และ มีรุกขกร โดยการประยุกต์แห่งศาสตร์พระราชา ที่ต้องทำให้ด้วยความรัก ความปรารถนา และด้วยใจ ประยุกต์ใช้อย่างยั่งยืน ไม่ยึดติดตำรา ปรับตามบุคคล ภูมิสังคม สภาพพื้นที่และสถานการณ์ อันเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2. เพื่อนำนวัตกรรมโดรนในการจัดเก็บและแปลงข้อมูลทางกายภาพพื้นที่ดินให้เป็นฐานข้อมูลสู่ชุมชน เป็นต้นทุนทางวิชาการเพื่อส่งเสริมชุมชนให้มีระบบการจัดการ และการวางแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ สู่การเป็นชุมชนเมืองยั่งยืน
3. เพื่อพัฒนาแนวคิด ทักษะ ด้านนวัตกรรมสร้างสรรค์พื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรในเมือง และการพัฒนา “ฐานเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์บนอาคาร” เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาพื้นที่เขียวขาดแคลน และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้แก่นักศึกษา ผู้ประกอบการด้านการเกษตรสังคมเมือง
4. เพื่อสนองแนวพระราชดำริตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
5. เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว และชุมชนเมืองเชิงนิเวศ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผลิตบุคลากร-บุคคลที่มีความรู้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลนำร่อง บันดาลใจ ต้นแบบของรุกขกร “หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” สู่การริเริ่มเป็นนักพัฒนา ปฏิบัติการ ต่อยอด ขยายผล ในหลักการของรุกขกรรมแนวใหม่อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ 2. ชุมชนเป้าหมายได้รับการส่งเสริมให้มีองค์ความรู้ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ช่วยในการวางแผนการพัฒนา พื้นที่ที่ส่งเสริมระบบนิเวศชุมชนและการจัดการพื้นที่ทางการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสม 3. มีฐานเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์บนอาคาร เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน และหน่วยงานในองค์กรต่าง ๆ ในเขตชุมชนเมือง เพื่อเป็นต้นแบบในการดำเนินงานในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรกรรมในเขตเมือง ทั้งในพื้นที่ดาดฟ้าของหน่วยงานราชการ และบนอาคารของภาคเอกชน และ หน่วยงาน ภาคเอกชน และประชาชนมีความรู้ สามารถนำไปพัฒนาพื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรกรรมในพื้นที่ดาดฟ้าของหน่วยงานราชการ และบนอาคารของตนเองได้
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.2431 ล้านบาท 0.2431
KPI 3 : จำนวนรุกขกร (จาก120คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : ฐานข้อมูลทางกายภาพจากนวัตกรรมโดรน และ แผนแม่บทพื้นที่ทางการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุมชน 1
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
95 ร้อยละ 95
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้ เข้าใจ เข้าถึง ได้รับการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมภูมิทัศน์ด้านรุกขกรรมเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 9 : ฐานเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์บนอาคาร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผลิตบุคลากร-บุคคลที่มีความรู้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลนำร่อง บันดาลใจ ต้นแบบของรุกขกร “หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” สู่การริเริ่มเป็นนักพัฒนา ปฏิบัติการ ต่อยอด ขยายผล ในหลักการของรุกขกรรมแนวใหม่อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ 2. ชุมชนเป้าหมายได้รับการส่งเสริมให้มีองค์ความรู้ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ช่วยในการวางแผนการพัฒนา พื้นที่ที่ส่งเสริมระบบนิเวศชุมชนและการจัดการพื้นที่ทางการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสม 3. มีฐานเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์บนอาคาร เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน และหน่วยงานในองค์กรต่าง ๆ ในเขตชุมชนเมือง เพื่อเป็นต้นแบบในการดำเนินงานในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรกรรมในเขตเมือง ทั้งในพื้นที่ดาดฟ้าของหน่วยงานราชการ และบนอาคารของภาคเอกชน และ หน่วยงาน ภาคเอกชน และประชาชนมีความรู้ สามารถนำไปพัฒนาพื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรกรรมในพื้นที่ดาดฟ้าของหน่วยงานราชการ และบนอาคารของตนเองได้
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 1 โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรจง  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 5 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 5 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2.5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท (1 คน 1 วัน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท (1 คน 2 วัน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 5 คน (2 วัน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,000.00 บาท 21,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1.5 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท (1 คน 1 วัน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1.5 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท 3 คน (1 วัน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 200 บาท 5 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น มีด สิ่วเจาะ ปูนขาว ฆ้อน เชือก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา สี แปรงหรือพู่กัน กระเป๋าเอกสาร ค่าถ่ายสำเนาเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 27,200.00 บาท 27,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่นCD External Drive ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารอุดแผลต้นไม้ แอลกอฮอล์ เจลล้างมือ หน้ากากอนามัย ฯลฯ เ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 122100.00
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 2 โครงการ การบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน “อบรมการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aviation Vehicle) เพื่อการสำรวจและศึกษาข้อมูลภูมิประเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมชุมชน”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 40 เล่มๆละ 70 บาท 1 ครั้ง/รุ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 คันๆละ 2,800 บาท 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท 11,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 5 คน 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 A3 กระดาษลอกลาย กระดาษสี ปากกา ดินสอ คลิบหนีบ ค่าถ่ายเอกสาร/ทำเล่ม ถ่ายเอกสารสีแบบผังชุมชนขนาด A3 X 10 เล่ม ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 28,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น USB ไดร์ฟข้อมูล/ CD
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 75400.00
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 3 โครงการ การพัฒนาพื้นที่สีเขียวเชิงเกษตรในเขตเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 70 คนๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 70 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำกระบะปลูกพืช จำนวน 2 ชุด ชุดละ 5,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ1,200 บาท 1 คน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คนๆ ละ 200 บาท 6 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา สี ถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ส้อมปลูก บัวรดน้ำ เชือก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล