19314 : โครงการชุดการสร้างความเป็นเลิศทางด้านปศุสัตว์อินทรีย์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางสัตว์เพื่อผลิตอาหารปลอดภัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/5/2566 14:33:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  280  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกร นักเรียนนักศึกษา และผู้สนใจ โดยเป็นผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้ จำนวน 100 คน และผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 180 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรพงษ์  ทองเรือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชิตร์  วรรณคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดุจดาว  คนยัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.7 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 66-3.1.7.1.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

นับตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันการใช้ประโยชน์ปศุสัตว์นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อมนุษย์ ทั้งในด้านการใช้แรงงาน อาหาร นันทนาการ รวมทั้งการเปลี่ยนวัตถุดิบด้อย หรือ มีมูลค่า เป็นเนื้อ นม ไข่ ที่มีมูลค่าที่สูงขึ้น และเป็นโภชนะที่สำคัญของมนุษย์ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการคนได้หันมาให้ความใส่ใจในเรื่องของสุขภาพที่มากขึ้น ในทุกประเภทของอาหารที่มาจากสัตว์ ดังนั้น ในกระบวนการสร้างความเข้าใจ และใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภคจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเริ่มต้นจากกระบวนการผลิต อันได้แก่ กระบวนการเลี้ยง การดูแล การจัดการด้านอาหาร การจัดการด้านการเลี้ยง ตลอดจนการจัดการเรื่องของโรคทางสัตว์ ปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ได้ผลิตจากสัตว์ที่มีคุณภาพตามความต้องการของผู้บริโภค นอกจากนี้ การจะได้มาซึ่งกระบวนการดังกล่าวทีมีประสิทธิภาพแล้ว ในการสร้างองค์ความรู้จากการสร้างศูนย์เรียนรู้และรับรู้ (5 ฐานเรียนรู้) จากการต่อยอดงานวิจัย รวมทั้งการพัฒนางานวิจัยให้มีความสอดคล้อง และตรงตามเป้าหมายจึงนับเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาองค์ความรู้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ กระบวนการปลายน้ำที่มีความสำคัญ คือ การแปรรูปผลผลิตจากสัตว์ก็นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อผู้บริโภค จึงจำเป็นต้องประกอบด้วยขั้นตอน การจัดการวัตถุดิบ การประกอบอาหาร และการจัดเก็บผลผลิตก่อนถึงมือผู้บริโภค ที่ต้องมีความละเอียดและได้คุณภาพ ดังนั้น การจัดทำโครงการ การสร้างความเป็นเลิศทางด้านปศุสัตว์อินทรีย์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางสัตว์เพื่อผลิตอาหารปลอดภัย จึงมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อมุ่งเน้นสร้างฐานการเรียนรู้ด้านการเกษตรทางด้านปศุสัตว์เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และบริการวิชาการให้กับเกษตรกร นักเรียนนักศึกษา และผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยอาศัยองค์ความรู้ด้านการวิจัย มาพัฒนาและปรับปรุงองค์ความรู้ผ่านนวัตกรรมสมันใหม่มาใช้ตลอดกระบวนการผลิต ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ นอกจากนี้ ผู้ที่สนใจสามารถพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพในครัวเรือน ตลอดจนการสร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน ได้บริโภคอาหารปลอดภัยต่อไป สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่มีส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องต่อการเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัย ตลอดจนการเกษตรแบบพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ปลอดภัยและแบบอินทรีย์ตามหลักวิชาการ
3. เพื่อพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์
4. เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ควบคู่กับการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมสันทนาการ
5. เพื่อเป็นฐานเรียนรู้ทางด้านปศุสัตว์อินทรีย์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางสัตว์ในการผลิตอาหารปลอดภัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1) สามารถสร้างฐานเรียนรู้ด้านปศุสัตว์จำนวน 5 ฐานการเรียนรู้ 2) สร้างผลิตภัณฑ์ทางสัตว์ 2 ผลิตภัณฑ์ 3) จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานและเข้ารับการฝึกอบรมจำนวน 280 คน ทั้งนี้ตลอดจนสนับสนุนการเรียนการสอนและเป็นที่พึ่งของชุมชนในการให้คำปรึกษาด้านการเลี้ยงสัตว์ได้
KPI 1 : จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.141 0.065 0.144 ล้านบาท 0.35
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ฐานเรียนรู้ 5
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
180 คน 180
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากสัตว์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 10 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1) สามารถสร้างฐานเรียนรู้ด้านปศุสัตว์จำนวน 5 ฐานการเรียนรู้ 2) สร้างผลิตภัณฑ์ทางสัตว์ 2 ผลิตภัณฑ์ 3) จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานและเข้ารับการฝึกอบรมจำนวน 280 คน ทั้งนี้ตลอดจนสนับสนุนการเรียนการสอนและเป็นที่พึ่งของชุมชนในการให้คำปรึกษาด้านการเลี้ยงสัตว์ได้
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 1 ปรับปรุงฐานการเรียนรู้ด้านการเลี้ยงเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นแหล่งบริการวิชาการ
กิจกรรมย่อยการปรับปรุงฐานการเรียนรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือองค์ความรู้ จำนวน 300 เล่ม ๆ ละ 40 บาท จำนวน 20 หน้า เป็นเงิน 12,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ จำนวน 1,500 ชุด ๆ ละ 7 บาท เป็นเงิน 10,500 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 0.6 x 1.2 เมตร พร้อมขาตั้ง จำนวน 10 ชุดๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 37,500.00 บาท 0.00 บาท 37,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น วัตถุดิบอาหารสัตว์ ลูกไก่ อุปกรณ์ทางการเกษตร ฯลฯ เป็นเงิน 76,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น สารเคมี สารละลายน้ำเชื้อ ยาฆ่าเชื้อก่อนเข้าฟาร์ม ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
3. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น สายไฟ หลอดไฟ ปลั๊กไฟ ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
4. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 14,500 บาท
5. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 168,500.00 บาท 0.00 บาท 168,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 206000.00
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านปศุสัตว์
กิจกรรม การพัฒนาสินค้าและรูปแบบสินค้าผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
โครงการย่อยที่ 3 โครงการถ่ายทอดและฝึกอบรมด้านการเลี้ยงสัตว์และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
กิจกรรม การอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 12 วันเป็นเงิน 29,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท จำนวน 12 วัน เป็นเงิน 63,000 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว จำนวน 1 คัน ระยะทาง ไป-กลับ จำนวน 100 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 12 ครั้ง เป็นเงิน 4,800 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 97,200.00 บาท 0.00 บาท 97,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6.5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 12 วัน เป็นเงิน 46,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 46,800.00 บาท 0.00 บาท 46,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 144000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล