19298 : โครงการอาหารปลอดภัยหลักสุขาภิบาลร้านอาหาร ประจำปี 2565
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายพงษ์สันต์ สมบัติ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/12/2565 15:45:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/12/2565  ถึง  31/01/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  คณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาร้านค้าภายในพื้นที่ความรับผิดชอบของ กองพัฒนานักศึกษา นักศึกษา บุคลากร ผู้ประกอบการร้านค้าโรงอาหารเทิดกสิกร ตลาด MJU Night Market และร้านค้าหอพักนักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ งานบริการและสวัสดิการนักศึกษา หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้โรงอาหารเทิดกสิกร 2566 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง สกุณา  เชาวพ้อง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง อรณุตรา  จ่ากุญชร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองพัฒนานักศึกษา
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านกฏระเบียบ ข้อบังคับ
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาธารณสุขสร้างความเข้าใจและให้ความรู้กับผู้ประกอบการร้านค้าโรงอาหารเทิดกสิกร ตลาด MJU Night Market และร้านค้าหอพักนักศึกษา เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้ตระนักถึงความปลอดภัยด้านการปรุงอาหาร การสัมผัสอาหารให้กับลูกค้า รวมถีงการดูแลทำความสะอาดภายในร้านค้าอย่างถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสุขาภิบาลอาหาร การป้องกันเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษา บุคลากรสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภค หน่วยงานจึงต้องมีการคตรวจสอบคุณภาพดและควบคุมคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร โดยจัดโครงการอาหารปลอดภัยเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพอาหารให้กับผู้ประกอบการร้านค้าให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้าอาหารปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ภายใต้การควบคุมคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร
เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนให้ผู้ประกอบการร้านค้าอาหารใส่ใจต่อหลักสุขาภิบาลอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสุขาภิบาลอาหาร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สร้างความเข้าใจและให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของร้านค้าที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สร้างความเข้าใจและให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร
ชื่อกิจกรรม :
ตรวจร้านค้าภายในโรงอาหารเทิดกสิกร ตลาด MJU Night Market และร้านค้าหอพักนักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/01/2566 - 06/01/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสกุณา  เชาวพ้อง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 วัน วันละ 50 คน ๆ ละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล