19221 : โครงการปลูกฟื้นฟูต้นน้ำน่านด้วยชาเมี่ยงและหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/12/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรที่ปลูกชาเมี่ยงและที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2566 188,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 66-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการทำสวนชาเมี่ยงในพื้นที่ภาคเหนือ ประเทศไทยได้ลดจำนวนลงจากหลายๆ สาเหตุ เช่น มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่ได้รับผลตอบแทนสูงกว่า บางพื้นที่ขาดการจัดการสวนเมี่ยง และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ธนากร และคณะ (2563ก) ได้ทำการศึกษาลักษณะนิเวศและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินสวนชาเมี่ยง ในพื้นที่ภาคเหนือประเทศไทยในพื้นที่จังหวัดแพร่ น่าน ลำปาง และเชียงใหม่ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพืชเชิงเดี่ยวมากขึ้น การทำสวนชาเมี่ยงมีพื้นที่ลดลง คณะผู้ทำการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่สวนเมี่ยง โดยการหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้ซึ่งเป็นเห็ดประเภทเอคโตไมคอร์ไรซา มีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันในรากของต้นไม้ ซึ่ง ธนากรและคณะ (2563ข) ได้ทำการศึกษาการสร้างรูปแบบสวนไม้มีค่าเพาะเห็ดป่ากินได้ ในพื้นที่จังหวัดแพร่ การศึกษาคุณสมบัติทางยา (pharmacological properties) ของชาที่ผ่านมา พบว่า ชามีผลที่ดีหลายอย่าง สามารถนํามาใช้ประโยชน์ด้านการป้องกัน (chemoprevention) และบําบัดรักษา (chemotherapy) โรคบางอย่างได้ เช่น มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตสูง (anti-hypertensive) (Henry J.P. and Stephens-Larson P., 1984) มีฤทธิ์เป็นสารต้านการเกิดมะเร็ง (anti-carcinogenic compounds) (Sadzuka et al., 2000) มีฤทธิ์เป็นสารต้านการอักเสบ (anti-inflammatory agents) (Hiller et al., 1983) เป็นสารที่ให้ความร้อนแก่ร่างกาย (thermogenic substances) (Dulloo et al., 2000) กระตุ้นการเจริญของแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในลําไส้ (probiotics) (Hara Y., 1997) มีผลลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด (anti-hyperlipidemic effect) (Yang et al., 2001) ลดระดับโคเลสเตอรอล (hypocholesterolaemic) (Chen et al., 2001) และเป็นสารต้านการเจริญเติบโตของจุลชีพที่เป็นโทษ (anti-microbial agent) ที่น่าสนใจมาก คือ สารคะเทชินจากชาเขียวที่ความเข้มข้นต่ำๆ (2-20 ไมโครโมลาร์) มีคุณสมบัติจับธาตุเหล็ก (iron-chelating agents) ได้ (Samman et al., 2001) คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในสวนชาเมี่ยงภาคเหนือประเทศไทย เมื่อปี 2562 ธนากร และคณะ (2563ก) พบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในสวนชาเมี่ยงมีพื้นที่ลดลงและเปลี่ยนแปลงเป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและการค้ามากขึ้นซึ่งถ้ามีอัตราการเปลี่ยนแปลงดังเช่นปัจจุบันจะทำให้ป่าต้นน้ำลำธารในภาคเหนือจะลดลงอย่างรวดเร็วและมีผลกระทบอย่างอื่น ๆ เป็นลูกโซ่ ทางผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะหากลไกและกระบวนการชะลอการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ การเพิ่มมูลค่าในพื้นที่สวนชาเมี่ยงจึงเกิดโครงการวิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่สวนชาเมี่ยงโดยนำร่องในพื้นที่จังหวัดน่าน และจังหวัดแพร่ โดยมีโครงการวิจัยย่อยคือการเพิ่มมูลค่าในพื้นที่สวนเมี่ยง ด้วยการปลูกเห็ดป่ากินได้โดยการนำเชื้อเห็ดตับเต่า เพาะในรากต้นชาเมี่ยง และนำไปปลูกเสริมในพื้นที่สวนชาเมี่ยงดั้งเดิม เพื่อสร้างมูลค่าให้กับสวนชาเมี่ยงเป็นรายได้ สร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับเกษตรกรที่ปลูกชาเมี่ยง ทำให้เกิดความยั่งยืนเป็นทางเลือกหนึ่งที่อนุรักษ์ต้นน้ำลำธาร สร้างสวนเกษตรอินทรีย์ลดการเผาป่าลดหมอกควันในพื้นที่สูงภาคเหนือ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูสวนชาเมี่ยงในพื้นที่ต้นน้ำภาคเหนือ (ปี 2566 จังหวัดน่าน)
3. เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารและสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่สวนชาเมี่ยง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการปลูกฟื้นฟูต้นน้ำน่านด้วยชาเมี่ยงและหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.035832 0.094452 0.057716 ล้านบาท 0.188
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนแปลงต้นแบบสวนเห็ดป่า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 แปลง 5
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขากรและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการปลูกฟื้นฟูต้นน้ำน่านด้วยชาเมี่ยงและหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้
ชื่อกิจกรรม :
การสร้างแปลงต้นแบบสาธิตการปลูกชาเมี่ยงและหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้ จำนวน 500 ต้น จำนวน 5 แปลงในจังหวัดน่าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาถางวัชพืชและดูแลแปลง จำนวนพื้นที่ 5 ไร่ ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
2. ค่าจ้างเหมาเพาะกล้าชาเมี่ยง จำนวน 500 ต้น ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 12,500 บาท
3. ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลการจัดทำแผนที่โดยใช้โปรแกรม GIS (สำรวจพื้นที่) จำนวน 1 คน ๆ ละ 5 ไร่ ๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลเก็บข้อมูลในพื้นที่แปลงปลูกชาเมี่ยงจับพิกัดโดยการใช้ GPS ในการทำแผนที่ปลูกต้นชาเมี่ยง จำนวน 1 คน ๆ ละ 5 ไร่ ๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมาหยอดเชื้อเห็ดและดูแลกล้าไม้พร้อมทั้งติดตามผลเจริญเติบโตของกล้าชาเมี่ยงหลังหยอดเชื้อเห็ด จำนวน 500 ต้น ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 17,500
6. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
6.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 20 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
6.2 ค่าพาหนะ
6.2.1 รถยนต์ส่วนบุคคล ระยะทาง จำนวน 197 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 6,304 บาท
6.2.2 รถยนต์ส่วนบุคคล ระยะทาง จำนวน 356 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,848 บาท
6.3 ค่าที่พัก จำนวน 10 วัน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
35,000.00 บาท 94,452.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 129,452.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 3,400 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 11,050 บาท
4. ค่าวัสดุทางการเกษตร เป็นเงิน 15,382 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
35,832.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,832.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 165284.00
ชื่อกิจกรรม :
คืนองค์ความรู้และการติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าชาเมี่ยง จำนวน 5 แปลงในจังหวัดน่าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 15 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
1.2 ค่าพาหนะรถยนต์ส่วนบุคคล ระยะทาง จำนวน 197 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 7 ครั้ง เป็นเงิน 5,516 บาท
1.3 ค่าที่พัก จำนวน 8 วัน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,516.00 บาท 0.00 บาท 15,516.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22716.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล