19116 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะกล้าและผักงอก เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
อาจารย์ ดร.สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/1/2566 15:48:39
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา บุคคลากร เจ้าหน้าที่หน่วยงานต่างๆ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไปใน อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 65-69 MJU 1.1.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.19 66 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 66 AP 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการและพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศแก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันของประเทศไทยที่ประสบปัญหาการแพร่ระบาทของโรคโควิด-19 เกษตรกรผู้เพาะปลูกพืชผักรวมถึงประชาชนทั่วไปมีวิถีชีวิตในการเพาะปลูกและดำรงค์ชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมผลผลิตทางเกษตรมีราคาผันผวนไม่สามารถคาดการณ์ได้ ดังนั้น ในสภาวะปัจจุบันเกษตรกรต้องมีการปรับตัวในการทำเกษตร ที่จำเป็นต้องพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด ลดการซื้อปัจจัยการผลิตจากภายนอกเช่น สารเคมี ปุ๋ย รวมถึงวัสดุเพาะกล้า เป็นที่ทราบกันดีว่าการเพาะปลูกพืชผักในปัจจุบันเกษตรกร และประชนทั่วไปเลือกซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักจากแหล่งจำหน่ายที่น่าเชื่อถือ โดยส่วนมากเมล็ดพันธุ์พืชผักเหล่านี้เป็นเมล็ดพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 1 (F1-hybrid) ที่ให้ผลผลิตสูง มีความสม่ำเสมอและมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาดแต่เมล็ดพันธุ์เหล่านี้มีราคาที่แพงดังนั้นการเพาะปลูกพืชผักในปัจจุบันเกษตรกรจึงมีการเพาะกล้าในถาดเพาะก่อนแล้วจึงนำปลูกลงแปลงเมื่ออายุกล้าเหมาะสม โดยที่ผ่านมาเกษตรกรจะเลือกใช้วัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูปที่มีจำหน่ายในท้องตลาด เช่น พีทมอส ซึ่งมีราคาแพงทำให้เป็นการเป็นการเพิ่มต้นทุนของการปลูกพืชผัก ประกอบกับการเพาะปลูกพืชในปัจจุบันเกษตรกรส่วนมากไม่มีการจัดการกับเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจึงกลายเป็นขยะจำนวนมากที่เหลืออยู่ในฟาร์มปลูกพืชดังนั้น ในครั้งนี้นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่านทอดองค์ความรู้ในการผลิตปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและนำมาเป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าพืชผักเพื่อช่วยลดต้นทุนในด้านปัจจัยการผลิตพืช ซึ่งสอดคล้องกับการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริที่แท้จริงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้และยังสอดคล้องกับแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และของรัฐบาลในปัจจุบันในด้านการสนับสนุนให้เปลี่ยนเป็นการผลิตแบบระบบเกษตรอินทรีย์อย่างมีคุณภาพ โดยโครงการนี้ได้นำเอาองค์ความรู้ด้านการผลิตพืชผักและการทำปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์ร่วมถ่ายทอดสู่กลุ่มเกษตรกร ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสนองงานโครงการพระราชดำริ ด้านโครงการการพัฒนาทางการเกษตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้ สำหรับสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัยและสร้างอาชีพเสริมให้แก่ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืน
เพื่อพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านการผลิตกล้าผักคุณภาพสูง และการทำปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะกล้าและผักงอกสู่ชุมชน และเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคโนโลยีการเพาะกล้าและผักงอก
KPI 1 : องค์ความรู้ด้านการผลิตกล้าผักคุณภาพสูง และการทำปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนแหล่งบริการทางวิชาการด้านการผลิตกล้าผักคุณภาพสูง และการทำปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีรายได้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 30 ร้อยละ 90
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0405 0.0095 ล้านบาท 0.05
KPI 10 : จำนวนผู้เข้ารับบริการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคโนโลยีการเพาะกล้าและผักงอก
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านการผลิตกล้าผักคุณภาพสูง และการทำปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ เข่ง คราด พลั่ว, ช้อนพรวน เมล็ดพันธุ์พืชผัก มูลวัว มูลไก่
ดินดำ แกลบดิบ เปลือกถั่ว ตาข่ายพรางแสง ไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย พลาสติกมุงหลังคา ฟางข้าว เป็นต้น เป็นเงิน 40,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะกล้าและผักงอกให้แก่ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,500.00 บาท 0.00 บาท 9,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 9500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ได้แก่ การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน (โดยขอให้ระบุรายวิชา ตาม มคอ. และระบุจำนวนคน) 1) พส 301 หลักการผลิตผัก จำนวน 54 คน 2) พส 421 การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวน 25 คน 3) พส 393 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 3 จำนวน 54 คน 4) พส 420 การปรับปรุงพันธุ์พืชสวน จำนวน 90 คน 5) พส 457 เทคนิควางแผนการการทดลอง จำนวน 140 คน 6) พส 201 หลักพืชสวน จำนวน 180 คน
ช่วงเวลา : 01/12/2565 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล