19043 : โครงการ "การใช้ประโยชน์สารสกัดจากต้นเสม็ดขาวเพื่อป้องกันโรคและแมลงในพืชสมุนไพร ฟ้าทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall ex Nees.) และกระชายขาว Boesenbergia rotunda (L.) Mansf."
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายชัยวิชิต เพชรศิลา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/2/2566 10:58:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/01/2566  ถึง  15/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพืชสมุนไพร อำเภอละแม และอำเภอใกล้เคียง ในจังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2566 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.3 เป็นต้นแบบการสร้างชุมชนที่ยั่งยืน และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco Community &Tourism)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.10 ความสำเร็จในการสร้างพิพิธภัณฑ์เกษตร
กลยุทธ์ 65-69 MJU 1.4.4 สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.19 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.4 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 1.3 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต Eco Community & Tourism
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:1.3.2 ความสำเร็จในการสร้างพิพิธภัณฑ์เกษตร
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 7. สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.3.2 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 42. ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:2.3.6 หลักสูตรอบรมสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 46. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรอบรมสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ต้นเสม็ดในประเทศไทยจะพบอยู่สองชนิด คือ Melaleuca cajuputi Powell มีชื่อท้องถิ่นทั่วไปเรียกว่า เสม็ด (ภาคตะวันออก) เสม็ดขาว และภาคใต้เรียกว่า เหม็ดและอีกชนิดหนึ่ง คือ Melaleuca leucadendra (L.) L. เป็นไม้ต่างถิ่น มีชื่อสามัญเรียกว่า Cajeput tree, River cajeput tree, Weeping paperbark tree, White tea tree อยู่ในวงค์ MYRTACEAE ซึ่งต้นเสม็ดนั้นจัดได้ว่าเป็นราชินีแห่งไม้ป่าในริมทะเล และในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร จะมีทั้งเสม็ดขาว และเสม็ดแดง Eugenia grata Wigat. Var. collinsae Comb. พบอยู่ทั่ว และการนำไปใช้ประโยชน์ก็จะแตกต่างกันไป ในปัจจุบันต้นเสม็ดแดงมีจำนวนที่ลดลงเนื่องจากมีการลักลอบขุดไปตกแต่งอาคารสถานที่ต่างๆ เนื่องจากต้นเสม็ดแดงจะมีลักษณะใบและต้นเป็นสีแดงจึงเหมาะต่อการนำไปจัดสวนตกแต่ง และต้นเสม็ดขาวก็พบว่ามีการนำไปใช้ประโยชน์มากไม่แพ้กับเสม็ดแดง มีการใช้ประโยชน์ที่หลากหลายใช้ได้ทุกส่วนของต้นเสม็ดขาวที่มีสารระเหยสำคัญ เมทิลยูจีนอล และ อี-เมทิลไอโซ ยูจีนอล ที่พบ เช่น น้ำมันยูคาลิปตัส (Eucalyptus Oil) การบูร (camphor) น้ำมันระกำ (methyl salicylate) เมนทอล (menthol) และสารสำคัญอื่น ๆ สารสำคัญเหล่านี้สามารถนำมาพัฒนาการและต่อยอดให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับคน สัตว์ และพืชได้ และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้ขอการดำเนินโครงการการใช้สารสกัดจากต้นเสม็ดขาวเพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคและแมลงในต้นหน้าวัว และกล้วยไม้สกุล Phalaenopsis แต่โครงการยังไม่ได้รับการประกาศ การอนุมัติ และเพื่อให้เป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนั้น จึงมีความสนใจในการใช้สารสกัดจากต้นเสม็ดขาวต่อเนื่อง เพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคและแมลงในต้นฟ้าทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall ex Nees.) และกระชายขาว Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรที่สรรพคุณทางยามากมาย และมีความต้องการของตลาดอย่างสูง และเป็นพืชสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน และชุมชนได้ นอกจากนั้นยังสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร และชุมชนได้ และเพื่อตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่จะก้าวไปเป็นเกษตรอินทรีย์และสามารถเป็นที่พึ่งพาของเกษตรกรในการใช้สารสกัดจากต้นเสม็ดขาวในกระบวนการผลิตพืชที่เป็นอินทรีย์ได้ และเพื่อสนองงานในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษา และพัฒนาการใช้ประโยชน์สารสกัดจากต้นเสม็ดขาวในกระบวนการผลิตฟ้าทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall ex Nees.) และกระชายขาว Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สารสกัดจากเสม็ดขาวและการนำไปใช้ประโยชน์กับพืชสมุนไพร ฟ้าทะลายโจรกับกระชายขาว
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 4 : ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากเสม็ดขาว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สารสกัดจากเสม็ดขาวและการนำไปใช้ประโยชน์กับพืชสมุนไพร ฟ้าทะลายโจรกับกระชายขาว
ชื่อกิจกรรม :
การติดตั้งองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้สารสกัดในกระบวนการผลิตพืชสมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2566 - 15/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วันๆ ละ 50 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วันๆ ละ 50 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดเตรียมตัวอย่างพร้อมสกัดเสม็ดขาว จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 วันๆ ละ 5 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 1 วันๆ ละ 2 คนๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ กระถางปลูก ดินปลูก ฯลฯ เป็นเงิน 68,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 68,800.00 บาท 0.00 บาท 68,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การดำเนินการจัดชื้อจัดจ้างที่ล้าช้าอาจมีผลต่อการดำเนินโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เร่งรัดการจัดชื้อจัดจ้างเพื่อการดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จตามเวลา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
การติดตั้งองค์ความรู้วิธีการสกัดสารจากต้นเสม็ดสู่ชุมชนที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ช่วงเวลา : 01/03/2566 - 15/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ