18539 : โครงการส่งเสริมการยื่นขอตำแหน่งที่่สูงขึ้น (บุคลากรประเภทสนับสนุน) เรื่อง "การทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายคธาวุฒิ ทิพจร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/7/2565 14:02:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/08/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  บุคลากรประเภทสนับสนุนระดับปฎิบัติการ ที่มีคุณสมบัติยื่นขอตำแหน่งชำนาญการ และบุคลากรที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ใช้งบประมาณจากกองทุนพัฒนาบุคลากร 2565 7,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย คธาวุฒิ  ทิพจร
นาง โสภา  สุทธิยุทธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์  ศรีเงินยวง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.27 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Roadmap
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.5.7 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สื่บเนื่องจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาบุคลากร ครั้งที่ 1/2565 มีมติเห็นชอบจัดโครงการตามแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ 2565 โครงการส่งเสริมการยื่นขอตำแหน่งที่สูงขึ้น (ประเภทสนับสนุน) และสอคล้องกับแนวคิดจากนโยบายด้านการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทิศทางมุ่งเน้นผลผลิตด้านทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการพัฒนามหาวิทยาลัย โดยมีกลยุทธ์ในการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศในระดับชาติและนานาชาติ พัฒนาทักษะและระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพ ประกอบกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ปรับเปลี่ยนสถานะสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เพื่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรมีศักยภาพสูงขึ้น สามารถปฎิบัติงานและผลิตผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน มหาวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติ โดยได้กำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรมีความก้าวหน้าตามเส้นทางในการทำงาน และการสร้างผลงานทางวิชาการของบุคลากร ถือว่าเป็นพันธกิจหลักในการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัย ดังนั้น บุคลากรประเภทสนับสนุน ในระดับมหาวิทยาลัย จึงต้องให้ความสำคัญในการทำผลงานทางวิชาการ เพื่อใช้ประเมินเลื่อนเงินเดือนและกำหนดกรอบตำแหน่งที่สูงขึ้น นอกจากนี้ ยังเป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรให้สามารถรองรับและเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต อีกด้วย และจากการสำรวจข้อมูลบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีงบประมาณ 2565 (โครงสร้างอัตรากำลัง กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ข้อมูล ณ 11 กรกฎาคม 2565 ) พบว่าบุคลากรตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทสนับสนุน ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 522 คน โดยเป็นบุคลากรระดับปฏิบัติการ จำนวน 458 คน และมีจำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น มีจำนวน 64 คน ซึ่งถือว่ามีจำนวนน้อย และเพราะสาเหตุใดพนักงานมหาวิทยาลัยประเภทสนับสนุน ระดับปฏิบัติการเหล่านี้ ถึงไม่สามารถผลิตผลงานวิชาการได้มากขึ้น ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงมีแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจเพื่อเตรียมความพร้อมในการผลิตผลงานวิชาการ หัวข้อเรื่อง การทำงานวิเคราะห์เพื่อพัฒนางานประจำ และสามารถนำไปขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุน ตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นบุคลากรที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ก้าวหน้าตรงตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาผลงานจากงานประจำในการกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุน
เพื่อทราบหลักการ เทคนิค และการทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ สำหรับใช้ในการผลิตผลงานวิชาการของบุคลากรประเภทสนับสนุน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทราบแนวทางการพัฒนาผลงานจากงานประจำเพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมรับทราบแนวทางการพัฒนาผลงานจากงานประจำเพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ทราบหลักการ เทคนิค และการทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ สำหรับใช้ในการผลิตผลงานวิชาการของบุคลากรประเภทสนับสนุน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมสามารถทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ สำหรับใช้ในการผลิตผลงานวิชาการของบุคลากรประเภทสนับสนุน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 คน 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทราบแนวทางการพัฒนาผลงานจากงานประจำเพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรประเภทสนับสนุน
ผลผลิต : ทราบหลักการ เทคนิค และการทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ สำหรับใช้ในการผลิตผลงานวิชาการของบุคลากรประเภทสนับสนุน
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อเรื่อง การทำงานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานประจำ สำหรับใช้ในการผลิตผลงานวิชาการของบุคลากรประเภทสนับสนุน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/08/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายคธาวุฒิ  ทิพจร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ( 1 คน x 1,200 บาท x 6.30 ชั่วโมง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล