18217 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง“หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” โดยเทศบาลตำบลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย สมาคมยางนา-ขี้เหล็กสยาม (65-2.6.12)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/3/2565 11:34:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/02/2565  ถึง  10/02/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  บุคลากรของเทศบาลตำบลแม่สาย เมืองเชียงราย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณจากแหล่งทุนภายอนก 2565 110,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บรรจง  สมบูรณ์ชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.19 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.4 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.8(64-68)-FAED การพัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 2.18FAED65 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.8.1(64-68) สนับสนุนการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมากขึ้น และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างชาติ
ตัวชี้วัด 2.19FAED65 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-2.8.2(64-68) เพิ่มปริมาณการยื่นข้อเสนอโครงการ โดยประชาสัมพันธ์การเปิดรับข้อเสนอจากแหล่งทุนต่าง ๆ และประสานการรวมกลุ่มเพื่อเพิ่มโอกาสการยื่นข้อเสนอโครงการ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ และประสานงานที่เกี่ยวข้องกับการยื่นข้อเสนอภายในมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ความร่วมมือ 4 สถาบัน โดยเทศบาลตำบลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และสมาคมยางนา-ขี้เหล็กสยาม ภายใต้ยุทธศาสตร์ของเทศบาลตำบลแม่สาย ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ร่วมกับนโยบายการพัฒนาชุมชนด้าน Green & Eco-University and Community ได้มีการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการที่สามารถส่งเสริมสนับสนุนมหาวิทยาลัยและชุมชนเมืองต่างๆ ทั้งในภูมิภาคภาคเหนือ และภาคอื่นๆ ของประเทศ ให้มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมเขียว ตลอดจนวัฒนธรรมความเชื่อในการดำรงรักษาต้นไม้ใหญ่ และประวัติศาสตร์ของต้นไม่ใหญ่ที่สอคล้องกับยุทธศาสตร์และภูมิสังคมท้องถิ่นในทุกมิติ ซึ่งการพัฒนาคนให้มีความก้าวหน้าทางทัศนคติ-เจตคติ แนวคิด แนวปฏิบัติที่ดีต่อต้นไม้ใหญ่ และการเข้าถึงนวัตกรรมอย่างบูรณาการรู้เท่าทันสถานการณ์ นับเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญยิ่งกับการเข้าสู่แนวปฏิบัติที่ดี และนำหลัการทางวิชาการ ผสานนวัตวิถีภูมิสังคมของชุมชนให้ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์แบบเข้าถึง เข้าใจ พัฒนา ตามแนวคิดของศาสรตร์พระราชา เพื่อน้อมนำการปลูกอุดมคติ สู่การพัฒนาความเป็นสีเขียว และนิเวศชุมชนที่จะสะท้อนภาพลักษณ์อันดีงามด้านสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตใจอย่างยั่งยืน ดั้งนั้น โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง“หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” สำหรับบุคลากรองค์กรต่างๆ ผู้สนใจ เครือข่ายศิษย์เก่าวิชาชีพภูมิทัศน์ ประชาชน ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย จึงเป็นวิสัยทัศน์ที่ 4 สถาบันได้ตระหนักเห็นความสำคัญด้านการสร้างสรรค์บุคคลต้นแบบรุกขกร พัฒนาเครือข่ายรุกขกร ให้เป็นต้นทุนของทรัพยากรคนที่มีศักยภาพสู่การพัฒนาทางกายภาพและจิตใจของสถานที่อันมีต้นไม้ใหญ่ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ ด้วยการสืบสานงานสนองแนวพระราชดำริด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สู่ตำนานประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่น และภูมิสัญลักษณ์สถาน เพื่อสิ่งแวดล้อมทางภูมิทัศน์ที่ดีงามสืบไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อน้อมนำแนวพระราชดำริสู่การสืบสาน ต่อยอด แนวคิดศาสตร์พระราชาในการพัฒนากรอบของการเรียนรู้ทรัพยากร กรอบการใช้ประโยชน์ และกรอบการสร้างจิตสำนึก เพื่อขับเคลื่อนสนองพระราชดำริ ให้เกิดสิ่งแวดล้อมสีเขียว ควบคู่การพัฒนาอุดมคติ เพื่อดำเนินงานตอบสนองยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว และชุมชนเมืองเชิงนิเวศ
เพื่อพัฒนาทรัพยากรคนให้เป็นบุคคลต้นแบบที่เรียกว่า“รุกขกร” ให้เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาแนวคิดและหลักปฏิบัติที่ดีต่อสุขภาวะของต้นไม้ใหญ่อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ ด้าน“การจัดการ ดูแล เสริมความงาม และฟื้นฟูต้นไม้ใหญ่”โดยหลักการกายและใจ...เรียนรู้ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ต่อยอด ขยายผล น้อมนำแนวพระราชดำริฯ ศาสตร์พระราชา เพื่อสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดี และมีรุกขกรบุคคลบันดาลใจ
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะปฏิบัติอนุรักษ์ดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ที่มีคุณค่าทางกายภาพและจิตใจ ในพื้นที่ชุมชนเมืองและพื้นที่เป้าหมายสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
เพื่อสร้างภาพลักษณ์และบรรยากาศทางภูมิทัศน์ที่ประสานกับแนวคิดเชิงนวัตวิถีชุมชนกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของต้นไม้ใหญ่ของสถานที่ ที่เปรียบเสมือนปูชนียสถานที่สำคัญทางสภาพแวดล้อม ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ และเป็นสุข ในการใช้ชีวิตของผู้คนที่เข้ามาใช้สถานที่ของเมือง
เพื่อสืบสานแนวคิดและภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในด้านการอนุรักษ์รักษาต้นไม้ใหญ่ และการเคารพต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตวิญญาณ
เพื่อสร้างโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ที่มีคุณค่าทางกายภาพและจิตใจ ในพื้นที่ชุมชนและพื้นที่เป้าหมายต่างๆ ให้เกิดสร้างความภาคภูมิใจในสถาบัน และเกิดสัมพันธ์ภาพที่ดี ทั้งในด้านแนวความคิด แนวทางปฏิบัติ และวัฒนธรรมที่ดีงาม ที่เกี่ยวกับต้นไม้ใหญ่
เพื่อเพิ่มศักยถาพ และยกระดับองค์กร ในแนวคิด “Smart Growth” ด้านภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง“หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” โดยเทศบาลตำบลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย สมาคมยางนา-ขี้เหล็กสยาม
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการฝึกอบรมเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจต่อผลที่ได้รับตามวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง“หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” โดยเทศบาลตำบลแม่สาย จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย สมาคมยางนา-ขี้เหล็กสยาม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมปฏิบัติการทักษะรุกขกร “หมอต้นไม้ในงานภูมิทัศน์” เทศบาลตำบลแม่สาย จังหวัดเชียงราย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/02/2565 - 10/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรจง  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปริญญา  ปฏิพันธกานต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรี  เหมสันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุระพงษ์  เตชะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พิทักษ์พงศ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์รมย์ชลีรดา  ด่านวันดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 37,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 37,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 30 บาท x 25 คน x 6 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 120 บาท x 25 คน x 3 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
(ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง x 1 คน x 1 วัน)
(ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง x 1 คน x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ปฏิบัติงานบนที่สูง
(ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง x 1 คน x 1 วัน)
(ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง x 1 คน x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนผู้ช่วยภาคปฏิบัติการปีนป่ายที่สูง
(ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง x 4 คน x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 110100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะทางไกล และสถานการณ์โควิค กับ มาตรการการเดินทางข้ามจังหวัด และ มาตรการระยะห่างในการจัดอบรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานพื้นที่ และเตรียมการล่วงหน้า ให้ชัดเจนเรียบร้อย ทุกด้านที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล