17899 : โครงการพัฒนาระบบรดน้ำมะเกี๋ยงแบบอัจฉริยะ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/12/2564 15:52:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/01/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานราชการ ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 65-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้ปลูกและอนุรักษ์พันธุ์พืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติได้ดำเนินการปลูกและดูแลมะเกี๋ยง โดยขยายพื้นที่ทุกๆ ปี ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน พืชมะเกี๋ยงซึ่งเป็นพืชตัวอย่างที่จะทำการศึกษาจากพืชที่มีโอกาสสูญพันธุ์นำมาศึกษาวิจัย จนแนวโน้มจะเป็นพืชเศรษฐกิจหรือพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมนั้น จากการการศึกษาทางด้านคุณสมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ที่เกี่ยวข้องกับกลไกที่ช่วยป้องกันและลดอัตราเสี่ยงของโรคเรื้อรังของมะเกี๋ยง พบว่า มะเกี๋ยงเป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจที่มีสารทางชีวภาพที่มีฤทธิ์ทางเครื่องสำอางและการเป็นอาหารเชิงฟังก์ชัน งานวิจัยพัฒนามะเกี๋ยงที่ผ่านมาเป็นการดำเนินการในเบื้องต้นยังต้องมีการศึกษาในขั้นต่อๆ ไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่เส้นทางเชิงพาณิชย์ จากการดำเนินงานทางด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงหยี แยม และน้ำมะเกี๋ยง ของทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ก่อให้เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชนจากพืชมะเกี๋ยง ทั้งการรับซื้อผลมะเกี๋ยงจากชุมชน การจ้างงานด้านการแกะผลมะเกี๋ยงสำหรับนำมาทำผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นการสร้างต้นแบบการใช้ประโยชน์ และการสร้างมูลค่าของผลมะเกี๋ยง แก่เกษตรกรและชุมชนรอบมหาวิทยาลัย จากประเด็นที่ได้กล่าวเกี่ยวกับการบริหารจัดการคุณภาพน้ำให้มีประสิทธิภาพมีข้อมูลที่แม่นยําและรวดเร็วและสามารถปรับคุณภาพน้ำได้แบบทันท่วงที ร่วมถึงเป็นการสร้างแหล่งเรียนรู้ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะกับการดูแลพืชอนุรักษ์ จะช่วยให้เยาวชนและเกษตรกร เห็นคุณค่าของพืชอนุรักษ์ ซึ่งจะเป็นการช่วยสร้างความตระหนักและและจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชท้องถิ่น อย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
2 เพื่อสร้างระบบรดน้ำแปลงมะเกี๋ยงแบบอัตโนมัติ
3 เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบรดน้ำแปลงมะเกี๋ยงแบบอัตโนมัติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนาระบบรดน้ำมะเกี๋ยงแบบอัจฉริยะ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ประสิทธิภาพการรดน้ำแปลงมะเกี๋ยงแบบอัจฉริยะ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200000 บาท 200000
KPI 4 : เกิดระบบรดน้ำแปลงมะเกี๋ยงอัตโนมัติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ระบบ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนาระบบรดน้ำมะเกี๋ยงแบบอัจฉริยะ
ชื่อกิจกรรม :
การสำรวจและเตรียมแปลงที่จะให้น้ำแบบอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้าเหมาคนงานเพื่อเตรียมแปลงและติดตั้งระบบให้น้ำ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 10,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
ชื่อกิจกรรม :
ติดตั้งและวางระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาและติดตั้งชุด IOT ตรวจวัด และควบคุมการจ่ายน้ำ พร้อมอุปกรณ์ เป็นเงิน 76,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 76,000.00 บาท 0.00 บาท 76,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 10 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
ชื่อกิจกรรม :
เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตและผลผลิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ที่แสดงพื้นที่ให้น้ำอัตโนมัติ จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 25 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
ประเมินประสิทธิภาพการรดน้ำแบบอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาติดตาม และประเมินผลประสิทธิภาพการรดน้ำแบบอัจฉริยะ จำนวน 2 คน ๆ ละ 8,500 บาท เป็นเงิน 17,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท 17,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. ระบบน้ำด้านการเกษตรไม่ไหล แก้ปัญหาโดยเปลี่ยนจุดให้น้ำใหม่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล