17898 : โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศพลวัตรของชาเมี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/12/2564 16:14:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/01/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานราชการ ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 70,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูล
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 65-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เมี่ยง หรือเหมี้ยง เป็นอาหารว่างของชาวล้านนาในอดีต มีประวัติยาวนานมาหลายพันปี เช่นเดี่ยวกับการรับประทานชาในประเทศจีน แต่ชาวล้านนากลับนำเอาเมี่ยงหรือชานั้นมารับประทานเป็นอาหารแทน แต่ตั้งเดิมทุกบ้านจะมีเมี่ยงไว้เป็นของกิน และใช้ต้อนรับแขก โดยมีห่อเมี่ยงคู่กับขันหมากและโป้ยาขื่น(กระป๋องยาสูบ) โดยแขกจะแกะห่อเมี่ยงแล้วกินเมี่ยงที่เจ้าของบ้านต้อนรับแล้วจึงพูดคุย ชาวล้านนาจะกินเมี่ยงคู่กับสูบปูรี (บุหรี่) หลังอาหาร บางคนที่ไม่สูบบุหรี่ก็กินเมี่ยงอย่างเดียว วิธีกินเมี่ยงคือแกะห่อเมี่ยงออก นำใบเมี่ยงมาแผ่ใส่เกลือเม็ดและขิง ม้วนเป็นคำแล้วใช้อม ที่เรียกกันว่า อมเมี่ยง การอมเมี่ยงนิยมอมเมี่ยงหลังกินข้าว หรืออมระหว่างมื้ออาหารกันปากว่าง รสเปรี้ยวแกมฝาดของเมี่ยงทำให้ชุ่มคอ เมี่ยงหรือชา มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Camellia sinnensis Seem. ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามหุบเขา ใบเล็กยาว ใบมีรสเปรี้ยวอมฝาด คนในล้านนาเก็บใบเมี่ยงมานึ่งแล้วหมักไว้สำหรับอมและกิน ในใบเมี่ยงหรือชา มีคาเฟอีน 3-4% แทนนิน 7-15% และมีน้ำมันหอมระเหย ลักษณะลำต้น เป็นไม้พุ่มขนาดใหญ่ ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกดอกเป็นช่อคล้ายดอกส้ม ถิ่นที่ปลูก ปลูกตามป่าดิบเชิงเขาทางภาคเหนือ เช่นที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ และน่าน ต้นเมี่ยงแต่ละต้นนั้นสามารถเก็บผลผลิตได้เฉลี่ยปีละ 4 ครั้ง ดังนี้ เมี่ยงต้นปี เก็บเดือนมกราคม ใบเมี่ยงจะอ่อน ขายได้ราคาดี เมี่ยงกลางปี เก็บเดือนพฤษภาคม ใบเมี่ยงจะสวย และเมี่ยงจะออกสู่ตลาดมาก เมี่ยงส้อย เก็บเดือนสิงหาคม เมี่ยงเหมย เก็บเดือนธันวาคม เป็นเมี่ยงในฤดูหนาว ผลผลิตน้อย (สายลม และคณะ, 2551) ป่าเมี่ยงมักมีลักษณะที่เป็นวนเกษตรที่สมดุล และเป็นระบบที่รักษาสภาพแวดล้อมปกป้องผืนป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำและทรัพยากรที่มีคุณค่า ป่าเมี่ยงเป็นพื้นที่กันชน ป้องกันแหล่งต้นน้ำ ป้องกันการบุกรุกของกลุ่มคนที่เข้าไปยึดครองใช้ประโยชน์ภายในเขตป่า และยังป้องกันภัยพิบัติรูปแบบต่างๆ สภาพป่าเมี่ยงเป็นโครงสร้างที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ พบพืชพันธุ์ พืชอาหารและสัตว์อื่นอีกมากมาย ปัจจุบันยังไม่มีระบบการจัดเก็บฐานข้อมูลพลวัตรของชาเมี๋ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารแก่หน่วยงานราชการและบุคคลที่สนใจ ซึ่งมีการเก็บบันทึกข้อมูลลงในรายงานการวิจัย หรือบางเว็บไซต์ก็ให้รายละเอียดความหมายเท่านั้น จากเหตุผลดังกล่าว ผู้จัดทำโครงการจึงจัดทำระบบสารสนเทศพลวัตรของชาเมี๋ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย โดยเป็นข้อมูลงานวิจัยของ ผศ ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ และคณะ (2562) มาเป็นการนำเสนอข้อมูลผ่านเว็บไซต์ช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของชาเมี่ยงให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ซึ่งจะเป็นการช่วยสร้างความตระหนักและและจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชท้องถิ่น อย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2 เพื่อสร้างระบบสารสนเทศพลวัตรชาเมี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศพลวัตรของชาเมี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : เกิดระบบสารสนเทศพลวัตรชาเมี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ระบบ 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70000 บาท 70000
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศพลวัตรของชาเมี่ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทย
ชื่อกิจกรรม :
ศึกษางานวิจัยพลวัตรของชาเมี๋ยงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคเหนือของประเทศไทยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฎิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 15 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
ชื่อกิจกรรม :
วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ จำนวน 2 คน ๆ ละ 30 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12000.00
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาระบบสารสนเทศและทดสอบระบบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาในการพัฒนาและทดสอบระบบสารสนเทศพลวัตรของชาเมี่ยง จำนวน 1 ระบบ ๆ ละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 5,500 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 4,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,100.00 บาท 0.00 บาท 10,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30100.00
ชื่อกิจกรรม :
การนำข้อมูลงานวิจัยเข้าสู่ระบบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 10 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมให้ความรู้ระบบสารสนเทศและประเมินประสิทธิภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 30 เล่ม ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
5. ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 5 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีปัญหาและอุปสรรค
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล