17830 : โครงการใช้ไส้เดือนดินพันธุ์ขี้ตาแร่ และพันธุ์ (AF) ในการย่อยสลายเปลือกทุเรียนในเขตอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายชัยวิชิต เพชรศิลา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/3/2565 14:12:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตทุเรียน และเกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพืชผักในอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
อาจารย์ พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.4 ชุมชนที่ได้รับการยกระดับจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 40. ผลักดันให้มีการพัฒนาองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี/ให้บริการวิชาการจากมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาคใต้เป็นภาคที่มีฐานเศรษฐกิจที่ดีของประเทศไทยอีกภาคหนึ่งของประเทศ ที่มีการทำอาชีพที่หลากหลายทั้งการทำอาชีพประมงทางทะเล และการผลิตพืช เช่น การปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ ส้ม ทุเรียน มังคุด มะพร้าว และไม้ผลชนิดอื่น ๆ ซึ่งพืชเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถสร้างรายให้กับเกษตรกรทางภาคใต้ และประเทศกว่าปีละหลายแสนล้านบาท และการผลิตพืชชนิดต่าง ๆ เหล่านี้ในภาคใต้ส่วนใหญ่จะเน้นการผลิตพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีเป็นส่วนมากและส่วนน้อยที่เกษตรกรมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการผลิตพืชเนื่องจากเกษตรกรคุ้นเคยกับการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ซึ่งในระยะยาวสารเคมี ปุ๋ยเคมีมีผลต่อโครงสร้างของดิน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีผลตกค้างของสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร เมื่อบริโภคเข้าไปอาจก่อให้เกิดโรคภัยต่อมนุษย์ได้ ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร มองถึงความสำคัญอย่างยิ่งในกระบวนการผลิตพืชให้มีความปลอดภัยสูงต่อผู้บริโภค และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงเสนอโครงการที่มีความต้องการของชุมชนกับเกษตรกรผู้ผลิตทุเรียนในเขตอำเภอหลังสวน ในโครงการ “การใช้ไส้เดือนดินพันธุ์ขี้ตาแร่ และพันธุ์ (AF) ในการย่อยสลายเปลือกทุเรียนในเขตอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร” เนื่องจากเขตอำเภอหลังสวนมีพื้นที่ปลูกทุเรียน และแผงรับชื้อทุเรียน (ล้งทุเรียน) เผื่อส่งออกทุเรียนแบบแกะผลฟรีซดราย (Freeze dly) ไปยังต่างประเทศ จึงทำให้เปลือกทุเรียนเหลือเป็นจำนวนมากกว่า 1,000 ตัน ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในชุมชน และพื้นที่ใกล้เคียง ดังนั้นการใช้เปลือกทุเรียนนำมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง โดยใช้ไส้เดือนดินในการย่อยสลายเปลือกทุเรียนให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ และน้ำหมักฉี่ไส้เดือนดินที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการผลิตพืชได้ และช่วยปรับโครงสร้างดินให้ดีขึ้น เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการนำไปใช้ในการผลิตกับผลไม้ นอกจากนั้นยังสามารถนำไปผลิตพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคในครัวเรือนได้ เป็นพืชที่ปลอดภัย โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการ ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นและรายจ่ายลดลง และในระยะยาวสามรถลดต้นทุนการผลิตได้ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อการบริหารจัดการการผลิตพืชตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างยั่งยืน และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมในชุมชน
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการผลิตปุ๋ยอิทรีย์คุณภาพสูงจากเปลือกทุเรียนโดยใช้ไส้เดือนดิน
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้มากขึ้นในการผลิตพืชเศรษฐกิจและการผลิตพืชเพื่อบริโภคในครัวเรือน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตทุเรียน และเกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพืชผักในอำเภอหลังสวน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ไส้เดือนดินพันธุ์ขี้ตาแร่ และพันธุ์ (AF) ในการย่อยสลายเปลือกทุเรียน
KPI 1 : ร้อยละจำนวนเกษตรกรที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ฐานการเรียนรู้ในชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ฐาน 2
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.03 0.02 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตทุเรียน และเกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพืชผักในอำเภอหลังสวน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ไส้เดือนดินพันธุ์ขี้ตาแร่ และพันธุ์ (AF) ในการย่อยสลายเปลือกทุเรียน
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ไส้เดือนดินพันธุ์ขี้ตาแร่ และพันธุ์ (AF) ในการย่อยสลายเปลือกทุเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 (40 หน้า) จำนวน 40 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการรถบรรทุกพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง รถ 6 ล้อ จำนวน 5 คันรถๆ ละ 1,500 เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน ๆ ละ 70 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท ปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร - พันธุ์ไส้เดือนพันธุ์ขี้ตาแร่ จำนวน 15 กิโลกรัมๆ ละ 550 บาท เป็นเงิน 8,250 บาท
พันธุ์ไส้เดือนพันธุ์ (African Night Crawler) (AF) จำนวน 15 กิโลกรัมๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
มูลวัว จำนวน 257 กระสอบๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 12,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,100.00 บาท 0.00 บาท 30,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผลจากการระบาดของโรค COVID 19 อาจมีผลต่อการดำเนินงานของโครงการฯ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การเฝ้าระวังและติดตามการระบาดของโรคโควิด 19 ในพื้นที่ดำเนินงาน และติดตามการรายงานข่าวจากศูนย์ ศบค. Covid 19
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย002 นายชัยวิชิต เพชรศิลา
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
ช่วงเวลา : 01/03/2565 - 01/08/2565
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการปฎิบัตินอกห้องเรียน 80 วท 102 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล