17792 : โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทางด้าน ระบบ Smart farming ทางด้านการประมงเพื่อยกระดับเกษตรกรไทยให้กลายเป็น เกษตรกร 4.0 หรือ Smart Farmer
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/12/2564 15:34:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไปที่สนใจความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรอัจฉริยะ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. โดม  อดุลย์สุข
นาย เทพพิทักษ์  บุญทา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูล
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-65-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-65-2-26 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-65-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่การผลิตด้านการเกษตรยังมีผลผลิตคุณภาพต่ำ เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างต่ำ ส่วนหนึ่งเนื่องจากเกษตรกรทำการผลิตโดยขาดความรู๎ในเรื่องที่ทำอยู่ ขาดข้อมูลข่าวสารด้านการตลาดเพื่อประกอบการตัดสินใจสำหรับวางแผนการผลิต ตลอดจนการขาดความรู๎ในด้านการรักษาคุณภาพหรือพัฒนาผลผลิตให้เป็นสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน จึงต้องมีการพัฒนาเพื่อให้เกษตรกรไทยเป็น Smart Farmer ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ตลอดจนสามารถเป็น Smart Farmer ต้นแบบ และเกิดเครือข่ายที่เข็มแข็ง ที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และช่วยพัฒนาเกษตรกรรายอื่น ๆ ต่อไป กอปรกับสถานการณ์ที่ผู้ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมมีจำนวนลดน้อยลงจนเหลือเพียงร้อยละ 38 ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลปี 2553) และอายุโดยเฉลี่ยของเกษตรกรจะสูงขึ้น คือ มากกว่า 50 ปี ขาดแรงงานในครัวเรือนภาคเกษตรวัยหนุ่มสาว อีกทั้งเกษตรกรขาดการพัฒนาความรู้และทักษะ ทำให้ไม่มีการปรับปรุงพัฒนาการผลิต การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเท่าที่ควร จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการพัฒนา เพื่อสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ความสามารถ และมีทักษะด้านการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดเข้าสู่ภาคการเกษตร โดยโครงการนี้จัดทำโครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ด้านการประมงเพื่อพัฒนาเกษตรกรประมงไทยให้เป็น Smart Farmer คือ มีความพร้อม มีความรู๎ความเชี่ยวชาญในการประกอบอาชีพด้านการประมงตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่าการผลิตทางการประมงที่เกษตรกรดำเนินการ ให้ความสำคัญในการใช้องค์ความรู้และข้อมูลประกอบการตัดสินใจ การนำเทคโนโลยี ภูมิปัญญา และวิธีการปฏิบัติที่ดีมาใช้หรือพัฒนา โดยตระหนักถึงคุณภาพมาตรฐานและปริมาณความต้องการของตลาด มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตลอดจนสามารถ เป็น Smart Farmer ต้นแบบ และเกิดเครือข่ายที่เข้มแข็ง ที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และช่วยพัฒนาเกษตรกรราย อื่น ๆ ต่อไป สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้านเกษตรอัจฉริยะ ที่ทรงสนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการใช้นวัตกรรมด้านการเกษตรเพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาภาคการเกษตรของไทยอันจะส่งผลให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง ดำรงชีวิตอย่างพอเพียง มีกินมีใช้ และหลุดพ้นจากความยากจนในที่สุด โดยโครงการได้นำองค์ความรู้ทางด้านการทำไมโครคอนโทรลเลอร์จากบอร์ด Arduino ซึ่งเป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีราคาถูกและสามารถหาได้ง่าย โดยสามารถนำมาต่อกับ Sensor วัดคุณภาพน้ำจากการเลี้ยงปลาชนิดต่างได้ เช่น DO, pH, ความขุ่น, ความชื้นในดิน, อุณหภูมิน้ำ เป็นต้น ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาต่อโดยใช้สั่งการควบคุมระบบต่าง ๆ ในการเลี้ยงปลาได้ เช่น ควบคุมการสั่งจ่ายอาหารปลา ควบคุมการเปลี่ยนถ่ายน้ำ เปิดปิดไฟในโรงเรือน การควบคุมพัดรมในโรงเรื่อนตามอุณหภูมอากาศหรือความชื้นได้ เป็นต้น โดยเกษตรกรที่ผ่านการอบรมแล้วจะสามารถนำความรู้เหล่านี้ไปใช้ได้ ซึ่งไม่ต้องพึ่งการสั่งซื้อระบบสำเร็จที่มีราคาแพงได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อยกระดับเกษตรกรไทยให้กลายเป็น เกษตรกร 4.0 หรือ Smart Farmer ตามแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9
เพื่อเป็นแนวทางให้เกษตรกร ผู้สนใจนำความรู้ไปใช้เพื่อเป็นการประกอบอาชีพทางการประมงที่นำสมัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไปที่สนใจความรู้เกี่ยวกับการสร้างระบบอัจฉริยะ ได้ใช้ประโยชน์โครงการ โดยการไปปรับใช้ตามแนวทางพัฒนารูปแบบการเลี้ยงและการเพิ่มมูลค่า
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : เกษตรกร/เยาวชน/นักศึกษาได้รับองค์ความรู้กระบวนการสร้างระบบ Smart farm
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 8 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไปที่สนใจความรู้เกี่ยวกับการสร้างระบบอัจฉริยะ ได้ใช้ประโยชน์โครงการ โดยการไปปรับใช้ตามแนวทางพัฒนารูปแบบการเลี้ยงและการเพิ่มมูลค่า
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติทางด้าน ระบบ Smart farming ทางด้านการประมงเพื่อยกระดับเกษตรกรไทยให้กลายเป็น เกษตรกร 4.0 หรือ Smart Farmer
1. ประชาสัมพันธ์
2. ติดต่อประสานงาน
3. จัดฝึกอบรม
4. สรุปผลการจัดทำโครงการ
5. จัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 คนๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คนๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ 300 บาท 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ถังน้ำ บ่อผ้าใบ ท่อPVC ท่อลมPVC ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟ, Relay ฯลฯ เป็นเงิน 16,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,700.00 บาท 0.00 บาท 16,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ปากกา แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
8.ย.002 ปี65 อ.ดร.โดม อดุลย์สุข.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล