17736 : โครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม (65-2.1.5)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/12/2564 15:30:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  12  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ศิษย์เก่า คณาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 12,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกร  มหาวัน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสตูรการวางผังเมือง และสภาพแวดล้อม เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ในทักษะการวิิเคราะห์์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์์ ขององค์กรวิชาชีพตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บ้ณฑิต ซึ่งในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ได้มุ้งเน้นที่จะ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทุกการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนใด้เน้นกระบวนการใหผู้เรียนจัดทําข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา มุ่งให้ผู้เรียนสร้างความเข้าใจและเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนมีบทบาทในการแนะนํา ช่วยเหลือใหผู้เรียนสามารถพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่า่งต่อเนื่องไปตลอดชีวิต จุดเน้นของการสอนต้องเอื้อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความเข้าใจ การรับรู้และการร่วมกิจกรรม จึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยการบูรณาการผสมผสานองค์ความรู้เน้นสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตลอดจนการจัดบรรยากาศและสือที่เอื้อต่อการเรียนรู้ฝึกทักษะกระบวนการคิดและการจัดการกับปัญหาที่เผชิญ โดยได้มีการประยุกตใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีการฝึกปฏบัติและการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อให้มีการพัฒนาและส่งเสริมความก้าวหน้าทางด้านวิชาการและการเรียนการสอน ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทําโครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อขับเคลื่อนตัวชีวัดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมภายใต้ตัวชีวัด การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิช าการ วิชชีพ ( Criterion-4 Teaching and Learning Approach -stakeholder engagement)
เพื่อขับเคลื่อนตัวชีวัดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมภายใต้ตัวชีวัด ด้านการบรูณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทํานุบํารุงุ ศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project based/Area based)
เพื่อขับเคลื่อนตัวชีวัดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมภายใต้ตัวชีวัด นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทักษะตามเกณฑ์ ศตวรรษที 21 (ผ่านกระบวนการเรียนการสอน /โครงการกิจกรรมระดับคณะ/ ร่ว่มบริการวิชาการหรืองานวิจัยของคณาจารย์/ Workshop ร่วมกับเครือข่าย) ในการพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน และการเสนอขอแหล่งทุน
เพื่อส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ให้แก้ผู้เรียนได้มีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ด้านวิชาชีพด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบบรูณาการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม ยืดหยุ่น และคํานึงถึงความสามารถเฉพาะตัวของนักศึกษาโดยมุ่งเน้น องค์ความรู้ด้านการตระหนักถึงนิเวศแวดล้อม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณัฑิต ทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านให้มีความคิดสร้างสรรค์ และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (GOOD DESIGNER) โดยเน้นประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ผังเมือง ภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ด้วยการเรียนรู้จากสภาพความเป็นจริงในภูมิภาคต่าง ๆ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
12 คน 12
KPI 2 : นักศึกษาได้รับประสบการณ์และความรู้ความเท่าทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม
ชื่อกิจกรรม :
2.1.5.1 การเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้และทัศนคติด้านวิชาชีพของบัณฑิตศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา  ดวงธิมา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 70 บาท x 18 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,260.00 บาท 1,260.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 30 บาท x 18 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 540.00 บาท 540.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 600 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน=1,800)+(จำนวน 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 3 คน=3,600)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 3,600.00 บาท 5,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7200.00
ชื่อกิจกรรม :
2.1.5.2 การเตรียมความพรัอมและติดตามความก้าวหน้าบัณฑิตศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกร  มหาวัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (จำนวน 100 บาท x 1 มื้อ x 12 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1,200 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4800.00
ชื่อกิจกรรม :
2.1.5.3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์การเรียน ทำวิจัยและวิทยานิพนธ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา  สัมมานิธิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล