17724 : โครงการออกแบบและพัฒนาพื้นที่สาธารณะชุมชนบ้านแม่โจ้ (65-2.6.7)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.สุทธิพร ฟังเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/12/2564 15:47:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และชุมชนบ้านแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดิศสกุล  อึ้งตระกูล
อาจารย์ พิชญาภา  ธัมมิกะกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชุมชนบ้านแม่โจ้ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้สังกัดเทศบาลเมืองแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มีประชากร 3,885 คน 827 หลังคาเรือน ลักษณะของชุมขนบ้านแม่โจ้นั้นจะมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โดยมีพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนในการใช้ประกอบกิจการ ตามวาระ ประเพณี และเทศบาลต่าง ๆเป็นจำนวน 2 ไร่ในบริเวณริมห้วยโจ้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นแหล่งน้ำสำคัญของพื้นที่ โดยที่สภาพแวดล้อมในปัจจุบันนั้นมีบางส่วนที่กลายเป็นพื้นที่รกร้างทรุดโทรม ไม่ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสม และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาชุมชนให้เกิดการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และคำนึงถึงภูมิสังคม งานบริการวิชาการเพื่อการบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัยของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ พบว่าชุมชนต้องการให้คณะฯเป็นที่ปรึกษา แนะนำและสร้างแนวทางการออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมของพื้นที่ส่วนกลางของชุมชนจำนวน 2 ไร่ ใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการของชุมชน ให้เกิดการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด โดยมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน ตลอดจนเป็น การบูรณาการ การเรียนการสอน เพื่อการเรียนรู้นอกห้องเรียน ภายใต้หลักคิดของการมีส่วนร่วม สร้างบัณฑิตนักปฏิบัติ มีจิตสำนึกที่ดีต่อกิจกรรมชุมชน ภายใต้ปรัชญาของคณะด้านภูมิสังคม และการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ทั้งนี้งานบริการวิชาการสอดรับกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์การวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตามแผนแม่บทงานวิจัย 15 ปี (พ.ศ. 2563-2577) ตรงตามยุทธศาสตร์ 2 การวิจัยและนวัตกรรมด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทศาสตร์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนงานวิจัยการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม , แผนงานวิจัยการออกแบบภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมชุมชนสีเขียว และเมืองสะอาด ตลอดจนแผนพัฒนา การพัฒนาสังคม ชุมชน และประเทศ เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี และชุมชนยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2. เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการหรืองานวิจัยของคณะภายใต้กรอบการแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพื่อตอบสนองความต้องการชุมชนทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ การวางผัง และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวคิดภูมิสังคม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แนวทางการออกแบบและพัฒนาพื้นที่สาธารณะชุมชนบ้านแม่โจ้
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 3 : แนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะ ถูกส่งมอบให้กับชุมชนเพื่อนำไปวางแผนและพัฒนาพื้นที่ต่อไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้นงาน 1
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการสามารถสนองตามความต้องการของชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 9 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แนวทางการออกแบบและพัฒนาพื้นที่สาธารณะชุมชนบ้านแม่โจ้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ ออกแบบร่างแนวคิดพื้นที่สาธารณะส่วนกลางชุมชนบ้านแม่โจ้
1 สำรวจพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐาน: สำรวจพื้นที่เก็บข้อมูลด้านกายภาพ และสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น เพื่อนำมาพัฒนาแบบร่างแนวคิด
2. นำเสนอแบบร่างพื้นที่สาธารณะส่วนกลางชุมชนบ้านแม่โจ้ เพื่อให้ผู้นำชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น ให้ข้อเสนอแนะนำไปสู่การปรับใช้ เพื่อบรรจุลงในแผนพัฒนาเทศบาลต่อไป

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิศสกุล  อึ้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์พิชญาภา  ธัมมิกะกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 30 บาท 6 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 120 บาท 3 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเล่มสรุปแนวทางการออกแบบพื้นที่
ขนาด A3 ( 20 หน้า ) จำนวน 4 เล่มๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำภาพจำลองจากการออกแบบ การนำเสนองานด้วยคอมพิวเตอร์
ภาพจำลองการออกแบบการนำเสนองานด้วยคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับแนวทางการออกแบบและพัฒนาพื้นที่สาธารณะชุมชนบ้านแม่โจ้ จำนวน 1 พื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- บรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 3 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
- ปฏิบัติ จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 3 คน 3 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ดินสอ ปากกา สี เทป ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ช่วงเวลาลงพื้นที่อาจคาดเคลื่อนได้เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การระบาดเชื้อไวรัส โควิด-19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควบคุมมาตรการการเข้าร่วมกิจกรรม หรือการปรับช่วงเวลาลงพื้นที่ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล