17715 : โครงการพัฒนาศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/11/2564 14:13:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ฯ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2565 400,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน
นาย ธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 65-3.1.3.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่าให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียง" (Sufficiency Economy) เป็น "ปรัชญา" ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน เพื่อชี้แนะ แนวทางการดำเนินชีวิต และปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนทุกระดับทุกสาขาวิชาชีพมาโดยตลอด เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้ กระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทรงเตือนทุกฝ่ายให้รู้จักคำว่า "พอเพียง" อย่าทำอะไรเกินตัว ทำอะไรต้องควรรอบคอบไม่ ประมาท ดำรงชีวิตอย่างสมถะและสามัคคี ซึ่งจะนำพาตนเอง และประเทศชาติให้รอดพ้นภาวะวิกฤตต่างๆและนำไปสู่ความสุขได้ "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาแนวคิดที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของวิถีไทยทั้งในด้านการพัฒนา และการบริหาร ให้ดำเนิน ไปบน "ทางสายกลาง" โดยผู้ปฏิบัติจะต้องมีคุณลักษณะที่เป็นฐานรากคือ มีความรู้ทั้งในด้านความรอบรู้ รอบคอบและความ ระมัดระวัง และเป็นคนดีมีคุณธรรม ได้แก่ความซื่อสัตย์สุจริต การมีสติปัญญา และความเพียร โดยมีวิธีปฏิบัติที่สำคัญ 3 ประการ คือความพอประมาณ การมีเหตุผลและการสร้างระบบภูมิคุ้มกันในตัวเอง ซึ่งนำไปสู่เป้าหมายเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง รอดพ้นจากวิกฤตและรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ และในปัจจุบันทั่วโลกให้ความสนใจ SDGs ย่อมาจาก Sustainable Development Goals–SDGs หรือแปลเป็นไทยก็คือ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน”สำหรับ SDGs หรือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย โดยองค์การสหประชาชาติแบ่งทั้ง 17 ข้อ ออกเป็น 5 มิติ ได้แก่ มิติสังคม (People) มิติเศรษฐกิจ (Prosperity) มิติสิ่งแวดล้อม (Planet) มิติสันติภาพและสถาบัน (Peace) และมิติหุ้นส่วนการพัฒนา (Partnership) โดยหลายข้อของ SDGs ในมิติสังคมก็สอดคล้องกับการดำเนินงานของ สอวช. ในการจัดทำข้อเสนอนโยบาย กลไก และมาตรการสนับสนุน เช่น การขจัดความยากจนอย่างตรงจุด ข้อเสนอนโยบาย เรื่อง Lifelong Learning หรือการเรียนรู้ตลอดชีวิต รายงานการศึกษาการใช้ศักยภาพการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อววน.) เพื่อยกระดับการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ และการยกระดับการเรียนรู้ของเยาวชนนอกระบบการศึกษา รวมถึง BCG Economy Model เป็นต้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงถือเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมทั้งทางด้านพื้นที่ บุคลากร ในการส่งเสริมด้านการเกษตร ซึ่งจะช่วยส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร เพื่อให้ทุกคนสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง โดยจากการดำเนินงานที่ผ่านมาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้พัฒนาศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ทุกคนสามารถเข้าศึกษาดูงานเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างรายได้ และทุกคนสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ข้อ 2. Zero Hunger ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เพื่อรองรับการศึกษาดูงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการ การเรียนการสอน
2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายของโครงการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3 เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างรายได้ สร้างอาชีพ ให้กับกลุ่มเป้าหมายของโครงการอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.2994 0.0556 0.045 ล้านบาท 0.4
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการรับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนศูนย์เรียนรู้ศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ ที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละผู้เข้าอบรมและเยี่ยมชม มีความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้ที่ได้รับจากศูนย์เรียนรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 9 : จำนวนผู้เช้ามาใช้บริการศูนย์เรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) ตามแนวทางพระราชดำริ ฯ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่1 การพัฒนาและดำเนินการจัดการศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง (SE) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาผู้ประสานงานโครงการ
- จ้างเหมาบริการสนับสนุนงานศูนย์ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง วุฒิปริญญาตรี จำนวน 1 อัตรา อัตราเดือนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท (มกราคม 2565 – กันยายน 2565)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 135,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น แกลบดำ ขุยมะพร้าว ฟางอัดก้อน ถาดเพาะ ฯลฯ เป็นเงิน 228,800 บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง และหล่อลื่น เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง (ใส่เครื่องทุ่นแรงทางการเกษตร) เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 233,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 233,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 368800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมและการจัดการฝึกอบรมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs หลักสูตรระยะสั้น จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน รวม 100 คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 7,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น แฟ้ม กระดาษ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท (ใช้ในการอบรม 2 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล