17706 : โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านทรัพยากรสารสนเทศ ประจำปีการศึกษา 2564
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ธนัญญา กรดสุวรรณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/12/2564 11:02:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  อาจารย์ประจำ และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 (งานบริการห้องสมุดและเทคโนโลยีทางการศึกษา) 2565 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ธนัญญา  กรดสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง พรลภัส  พงษ์พานิช
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.3 พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.12 พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการด้านวิชาการออนไลน์ เพื่อการเป็น Digital university ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการจัดทำหลักสูตรออนไลน์ หรือ MOOC ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.27 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Roadmap
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.5.7 สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 9. พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของคณะ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 17. พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการด้านวิชาการออนไลน์ เพื่อการเป็น Digital University ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการจัดทำหลักสูตรออนไลน์ หรือ MOOC ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.1.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 19.ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ ทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.5 มีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.5.3 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตาม Training Roadmap
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 48. สนับสนุนบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม Training Roadmap ของแต่ละตำแหน่ง ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานหรือสูงกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา ถึงแม้ว่าในปัจจุบันสามารถค้นหาข้อมูลได้จากอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนมากก็ตาม แต่สารสนเทศแบบตัวหนังสือก็ยังคงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยแม่โจ้- ชุมพร เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางที่เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาด้านการเกษตร มุ่งที่จะผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญในสาขาวิชา และทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร มีสาขาวิชาที่เปิดสอน จำนวน 5 สาขาวิชา และ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ สาขาวิชาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ และสาขาวิชาการเมืองและการปกครองท้องถิ่น ซึ่งการเรียนการสอน ทั้ง 5 สาขาวิชานี้ มีการใช้ห้องสมุดร่วมกัน ถือเป็นห้องสมุดส่วนกลางของมหาวิทยาลัย ในการทำหน้าที่ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ในแต่ละสาขาวิขา เข้ามาให้บริการแก่ทุกสาขา และต้องจัดให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ตอบสนองกับการเรียนการสอน ตรงความต้องการแก่อาจารย์ นักศึกษา นักวิจัย นักวิชาการภายในมหาวิทยาลัย ดังนั้น ห้องสมุดจึงต้องมีการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศเป็นประจำทุกปี โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง อีกทั้งยังคำนึงถึงประสิทธิภาพการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงินรายได้ที่ได้รับสนับสนุนในการจัดหาหนังสือ เพื่อให้ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ได้รับประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้ ในปีการศึกษา 2564 ทางห้องสมุด ได้จัดกิจกรรมในหัวข้อ เรื่อง เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศและการใช้โปรแกรมจัดการทางบรรณานุกรมเพื่อการวิจัย ให้บุคลากรและนักศึกษาที่สนใจ ได้พัฒนาองค์ความรู้ ด้านระบบสารสนเทศ และการสืบค้นฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถนำองค์ความรู้และนำสารสนเทศที่ทันสมัยไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ ทั้งในด้านการเรียน การสอน และการวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ที่ตอบสนองต่อการเรียนการสอนในทุกสาขาวิชาของมหาวิทยาลัย
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าวิจัยในมหาวิทยาลัยและสามารถตอบสนองความต้องการของอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงินรายได้ที่ได้รับสนับสนุนในการจัดหาทรัพยากร
เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาได้เรียนรู้ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านระบบสารสนเทศ และการสืบค้นฐานข้อมูลต่าง ๆ สำหรับงานวิจัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงินรายได้ของห้องสมุด
KPI 1 : การใช้จ่ายเงินรายได้ของห้องสมุดเป็นไปตามแผน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : บุคลากรและนักศึกษามีความรู้ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านระบบสารสนเทศ การสืบค้นฐานข้อมูลต่างๆ สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย
KPI 1 : ความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้ด้านระบบสารสนเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงินรายได้ของห้องสมุด
ชื่อกิจกรรม :
การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ธนัญญา  กรดสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ, ตำรา)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ผลผลิต : บุคลากรและนักศึกษามีความรู้ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านระบบสารสนเทศ การสืบค้นฐานข้อมูลต่างๆ สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ธนัญญา  กรดสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายฐิติวัสส์  เดชเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ยังคงมีอาจารย์บางสาขาไม่ได้เสนอรายชื่อในการสั่งซื้อหนังสือ
จากการทำหนังสือรายงานผลการเสนอซื้อหนังสือในปีที่ผ่านมา ทำให้บางสาขามีการจัดซื้อหนังสือเพิ่มมากขึ้น
งบประมาณในการดำเนินงานมีจำนวนไม่เพียงต่อในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการรายงานผลการเสนอรายชื่อหนังสือต่อคณบดี และคณะกรรมการประจำมหาวิทยาลัยฯ เพื่อรับทราบ
มีการเสนอแนะจากอาจารย์เห็นควรเพิ่มจำนวนงบประมาณในการจัดซื้อ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล