17698 : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ปี 2
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/11/2564 15:07:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/12/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  ห้างสรรพสินค้า และร้านค้ารายย่อยในจังหวัดแพร่ อย่างน้อย 3 ราย/ กลุ่มลูกค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ 2565 8,900.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.5 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 65-3.1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการที่ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันตลาดและผู้บริโภคมีแนวโน้มการบริโภคสินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะพืชผัก แต่ผลผลิตพืชผักปลอดภัยในตลาดมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรขาดแรงจูงใจและทัศนคติที่ดีในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เกษตรกรบางส่วนมีความต้องการที่จะผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย แต่เกษตรกรยังขาดความรู้และทักษะในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย รวมทั้งขาดความเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต ผู้ค้า และผู้บริโภคทำให้ตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยในประเทศไทยมีจำกัด จากเหตุผลความสำคัญดังกล่าว มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงจัดโครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ขึ้น เพื่อจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่สามารถผลิตได้ในมหาวิทยาลัยออกสู่ท้องตลาด รวมถึงเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในฐานะผู้ผลิต กับ ร้านค้าในจังหวัดในฐานะคนกลางในการจำหน่าย นอกจากนี้ ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ยังมีหน่วยงานโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร ที่ทำการผลิตและจำหน่ายน้ำดื่มที่ได้มาตรฐานอย. แต่ปัจจุบันยังขาดไลน์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่ยังไม่ได้ทดลองทำการผลิตเพื่อทดลองตลาด ดังนั้น โครงการ M2M จึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะส่งเสริมผลักดันให้โรงงานนำร่องฯ สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และทดลองจำหน่าย เพื่อสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติอีกช่องทางหนึ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ของศูนย์เกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่เฉลิมพระเกียรติ
2 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ และแหล่งอาหารปลอดภัย ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
4 เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในฐานะผู้ผลิต กับ ร้านค้าในจังหวัดในฐานะคนกลางในการจำหน่าย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ปี 2 (จำหน่ายผักอินทรีย์)
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
18000 บาท 18000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ปี 2 (ผลิตและจำหน่ายน้ำดื่มแบบขวด PET)
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2600 บาท 2600
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ปี 2 (จำหน่ายผักอินทรีย์)
ชื่อกิจกรรม :
จำหน่ายผักอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สรียา  ทรัพย์ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กรรณิการ์  มอญแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1400.00
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ปี 2 (ผลิตและจำหน่ายน้ำดื่มแบบขวด PET)
ชื่อกิจกรรม :
ผลิตและจำหน่ายน้ำดื่มแบบขวด PET

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น
ขวดวันเวย์เพ็ท 250 cc. + ฝาขวด + ซีนรัด 160 แพค ๆ ละ 25 บาท = 4,000 บาท
ขวดวันเวย์เพ็ท 600 cc. + ฝาขวด + ซีนรัด 100 แพค ๆ ละ 35 บาท = 3,500 บาท
( 1 แพค = 12 ขวด )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาค่าขนส่งค่อนข้างสูง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
พิจารณาจัดสรรรายได้จากการจำหน่ายเป็นค่าน้ำมันรถในการขนส่งสินค้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการ M2M.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล