17664 : โครงการ "แม่โจ้อาสาพัฒนา"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ดร.ณรงค์ โยธิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/12/2564 11:04:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/12/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 2565 18,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. ณรงค์  โยธิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.1.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 18. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชมรมค่ายอาสาพัฒนาเป็นชมรมที่มีวัตถุประสงค์หลักคือการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับนักศึกษา โดยยึดหลักให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของการเสียสละและการบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบ แทน เพื่อหวังให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีความเสียสละและรู้จักให้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ยังขาดแคลนสำหรับคนในสังคมปัจจุบัน อีกทั้งในการออกค่ายแต่ละครั้งยังทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของคนในชุมชนด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่ง นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้โดยตรง นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ถึงการใช้ชีวิต อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสภาพที่ขาดแคลนอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายและห่างไกลจากความเจริญซึ่งจะทำให้ นักศึกษามีความอดทนและมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นด้วย เสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะตลอดจนการ เผยแพร่ความรู้ทางด้านวิชาการให้กับชุมชน เพื่อให้ชุมชนได้เห็นความสำคัญของการศึกษาเพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ชมรมค่ายอาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งตรง วัตถุประสงค์หลักของชมรมค่ายอาสาพัฒนา ที่จะช่วยพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญทั้งทางด้านวัตถุและ จิตใจ ส่งเสริมให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรู้จักการเสียสละเพื่อสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม และยัง เป็นการใช้เวลาว่างจากการเรียนปกติให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปู พื้นฐานการศึกษาในระดับขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน จะทำให้นักเรียนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับโอกาส ทางการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้สูงขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อฝึกให้นักศึกษารู้จัก แก้ไขปัญหาจากองค์ความรู้ที่มี ให้เกิดประโยชน์ แก่ตนเองและผู้อื่น
2 เพื่อฝึกการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น
3 เพื่อเป็นการศึกษา เรียนรู้การทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ และสร้างสรรค์ต่อตนเองและสังคม
4 เพื่อเป็นการฝึกให้รู้จักการเสียสละ มีความสามัคคีกันในหมู่คณะ
5 เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดคุณค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด
6 เพื่อเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษานำกิจกรรมในการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อจุดประกายความคิดให้กับเยาวชนให้มีจิตสำนึกทางชุมชน เมื่อเด็กโตขึ้นจะได้พัฒนาชุมชนของตนต่อไปและสามารถเผยแพร่ชื่อเสียงมหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จัก
KPI 1 : นักศึกษาได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาการใช้ระบบคิดที่วิเคราะห์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษานำกิจกรรมในการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อจุดประกายความคิดให้กับเยาวชนให้มีจิตสำนึกทางชุมชน เมื่อเด็กโตขึ้นจะได้พัฒนาชุมชนของตนต่อไปและสามารถเผยแพร่ชื่อเสียงมหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จัก
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร จำนวน 100 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ค่าต้นหลิวไต้หวัน ค่าต้นชาฮกเกี๋ยน จอบ กรรไกรแต่งกิ่ง ฯลฯ เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล