17630 : โครงการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายธีระชัย ศรีทอง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/8/2565 9:58:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ผู้นำชุมชน ในบ้านดอนตัน หมู่ที่ 4 ตำบลเหมืองแก้ว อำเภแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มนักศึกษายุวเกษตรกรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา สก 301 หลักการส่งเสริมการเกษตร ภาคการศึกษาที่ 1/2565
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ประจำปี 2565 คณะผลิตกรรมการเกษตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมและสื่อสารเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน : บริการวิชาการแก่สังคม งาน บริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุน บริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร จำนวน 20,000 บาท 2565 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยะ  พละปัญญา
อาจารย์ ดร. นภารัศม์  เวชสิทธิ์นิรภัย
นาย ธีระชัย  ศรีทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 65 AP ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สังคม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ตลอดถึงการพัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการผลิตทางการเกษตรมีความจำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตเป็นอย่างมากในการผลิตและมีการใช้อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกฤดูกาลผลิต การใช้ปุ่ยเคมีติดต่อกันเป็นเวลานานทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ ดินเป็นกรดเป็นด่าง ทำให้จุลินทรีย์ดินบางตายไม่สามารถย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ได้และทำให้ดินสูญเสียโครงสร้างทางกายภาพ ทำให้หน้าดินแข็งยากต่อการไถพรวนเกษตรกรต้องเสียค่าใช้จ่ายในการไถพรวนเตรียมดินและเสียค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงบำรุงดินเพิ่มขึ้น การผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่ายไว้ใช้เองในครัวเรือนเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรที่ช่วยในการลดต้นทุนและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตทางการเกษตร รวมถึงปุ๋ยหมักอินทรีย์ยังช่วยปรับปรุงคุณภาพดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ ช่วยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้มีความโปร่งอากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวกรากพืชสามารถหาอาหารได้ดีขึ้นต้นพืชมีการเจริญเติบโตดีทำให้พืชออกดอกออกผลเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรมีรายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้นตามไปด้วย อีกทั้งการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่ายของเกษตรกรยังตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพเพิ่มมากขึ้นในบริโภคผลิตภัณฑ์เกษตรที่มีปลอดภัย ไม่มีสารเคมีตกค้างในผลผลิต การใช้ปุ๋ยเคมีในภาคการเกษตรจะทำให้ดินเสื่อมคุณภาพแต่เกษตรกรยังมีความจำเป็นที่ต้องใช้เพื่อเพิ่มผลิต การผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่ายเพื่อใช้เองของเกษตรกรสามารถช่วยลดต้นทุนและลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมีได้โดยการนำของเหลือใช้ทางการเกษตรมาทำปุ๋ยหมักเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุด และยังช่วยลดการเผาลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทำให้เกษตรกรมีความปลอดภัยทางด้านสุขภาพมากขึ้น แต่การผลิตปุ๋ยหมักอิทรีย์แบบง่ายเกษตรกรยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และขาดข้อมูลเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของปุ๋ยหมักอินทรีย์อย่างแท้จริง จากปัญหาดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการผลิตปุ๋ยหมักอิทรีย์แบบง่าย ซึ่งทำให้เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการถ่ายทอดความรู้และนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้ การจัดทำโครงการ การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร “การผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย”เป็นการส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่ายให้แก่เกษตรกร บุคลากร นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรมตามโครงการนี้ไปใช้ประโยชน์ ดังนั้นการดำเนินงานตามโครงการนี้จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจและมีความสำคัญในการพัฒนาการผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะในเรื่องการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย ซึ่งจะเป็นการลดต้นทุนการในการผลิตทางการเกษตรรวมทั้งผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่ายเพื่อจำหน่ายได้ นอกจากนี้การดำเนินงานตามโครงการนี้ยังได้บูรณาการด้านการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการในรายวิชา สก 301 หลักการส่งเสริมการเกษตร และรายวิชาอื่น ๆของสาขาวิชา การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
- เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย ให้แก่เกษตรกร บุคลากร นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
- เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย ในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
- เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการแก่ชุมชน
- เพื่อจัดทำเอกสารคู่มือ “การผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย”
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย ในบ้านดอนตัน หมู่ที่ 4 ตำบลเหมืองแก้ว อำเภแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : ร้อยละในการดำเนินงานโครงการรเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีความรู้อยู่ในระดับมาก
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 คือ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ การผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย ในบ้านดอนตัน หมู่ที่ 4 ตำบลเหมืองแก้ว อำเภแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการจัดฝึกอบรมการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์แบบง่าย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์  เครือคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะ  พละปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นภารัศม์  เวชสิทธิ์นิรภัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธีระชัย  ศรีทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,750.00 บาท 3,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 3 x 1 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A5 จำนวน 5 หน้า จำนวน 50 เล่มๆ ละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน 1,800 บาท ต่อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน 350 บาท ต่อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 350.00 บาท 350.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร มูลวัว สารเร่ง EM เศษวัสดุทางการเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา กระดาษพรู๊พ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกพิมพ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ช่วงเวลาการจัดกิจกรรมอาจตรงกับช่วงฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกรอาจมีผู้เข้าร่วมน้อย
การเดินทางอาจมีข้อจำกัดสำหรับจำนวนนักศึกษาที่จะเข้าร่วมกิจกรรม
สถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสอาจมีคนร่วมกิจกรรมน้อย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการนัดหมายในช่วงเวลาที่เหมาะสมและอาศัยผู้นำท้องถิ่น ประธานหลักสูตรต่าง ๆในการประสานงานและประชาสัมพันธ์โครงการ
ขอการสนับสนุนหลักสูตรให้จัดส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการในแต่ละรายวิชา เช่น หลักการส่งเสริมการเกษตร เป็นต้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล