17434 : เพิ่มศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศ (การเงิน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/12/2564 13:58:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/12/2564  ถึง  28/02/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการเงิน รหัส 62
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทัดพงศ์  อวิโรธนานนท์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.8 ร้อยละของนักศึกษาที่มีผลสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (CEFR) ตั้งแต่ B1 ขึ้นไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.7 เพิ่มทักษะภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษาและบุคลากร และพัฒนาระบบทดสอบภาษาอังกฤษเสมือนจริงโดยไม่ใช้กระดาษ (Paperless)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA65-G-6 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด KPIBA 65-10 ความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
กลยุทธ์ BA65-S-18 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
เป้าประสงค์ BA65-G-8 นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด KPIBA 65-13 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ BA65-S-26 มีส่วนร่วมในการทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่จิด้ววยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ BA65-G-21 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด KPIBA 65-31 ร้อยละของนักศึกษาที่มีผลสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (CEFR) ตั้งแต่ B1 ขึ้นไป
กลยุทธ์ BA65-S-59 เพิ่มทักษะภาษาต่างประเทศแก่นักศึกษาและบุคลากรและพัฒนาระบบทดสอบภาษาอังกฤษเสมือนจริงโดยไม่ใช้กระดาษ (Paperless)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันภาครัฐ ภาครัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ในประเทศไทยเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมในด้านการพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาที่สองและภาษาที่สาม เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการขยายธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงไป การดำเนินธุรกิจเป็นในลักษณะการติดต่อสื่อสารและการทำธุรกรรมทางออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ซึ่งการเข้าถึงลูกค้าจึงสามารถทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วรวมถึงการติดต่อกับลูกค้าที่เป็นชาวต่างชาติด้วย ดังนั้น ด้านการศึกษาของประเทศไทยยังเป็นการเตรียมความพร้อมในระดับพื้นฐาน โดยมุ่งเน้นไปที่ตัวเด็กที่จะเป็นกำลังสำคัญของประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมต่อไป ซึ่งควรพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยโดยเฉพาะการติดต่อสื่อสารในภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสำคัญในการติดต่อ สื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ด้านการค้า เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กับประเทศทั่วโลกที่นับว่าเป็น เพื่อให้การเคลื่อนย้ายกำลัง คน นักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาเป็นไป โดยสะดวกขึ้น และการเปิดเสรีการค้าบริการด้าน การศึกษาจะส่งให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ ความรู้ ภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน ระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยจึงจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความพร้อมและสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมให้ทันกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง แต่หากจะเน้นไปที่การพัฒนาในระดับอุดมศึกษาแต่เพียงอย่าง เดียวอาจไม่เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทุกภาคส่วนที่มี ความเกี่ยวข้องจึงควรให้ความเอาใจใส่และร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอน ด้านภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการทำงาน ดังนั้น หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการเงิน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศ (การเงิน) เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการเงินเพื่อการสื่อสาร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเตรียมความพร้อมทางด้านภาษาต่างประเทศให้แก่นักศึกษาก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษขั้นต้นได้
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 2 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ระดับความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษเบื้องต้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษขั้นต้นได้
ชื่อกิจกรรม :
เพิ่มศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศ (การเงิน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 28/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัดพงศ์  อวิโรธนานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล