17013 : โครงการบริการวิชาการออกแบบพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ (64-2.6.4)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/3/2564 14:59:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/01/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ผู้บริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศิษย์เก่า
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2564 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.19 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.4 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-67)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.5(64-67)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.19FAED64 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-2.5.1(64-67) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 2.22FAED64 รายได้จากการให้บริการวิชาการ (อบรม ดูงาน ที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ FAED-2.5.4(64-67) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-2.5.5(64-67) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1(64-67)-FAED การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 1.1(64-67)-FAED การออกแบบวางผังสู่ Eco University ในรูปแบบ 3G : GREEN ROOF/ GREEN WALL/ GARDEN
ตัวชี้วัด 1.9FAED64 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking
กลยุทธ์ FAED-1.1.1(64-67) สนับสนุนในด้านการออกแบบวางผังมหาวิทยาลัย เพื่อมุ่งสู่ Eco University
กลยุทธ์ FAED-1.1.2(64-67) การสร้างสรรค์สภาวะน่าสบาย(comfort zone)ในการออกแบบวางผังบริเวณการออกแบบอาคาร การออกแบบชุมชนเมือง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาด้านกายภาพตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555-2569) ตามแผนยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาด้านการเกษตร ภายใต้การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ วิถีเกษตร วิถึแม่โจ้ เพื่อพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้เป็นพื้นที่สำหรับการอนุรักษ์เรียนรู้ และเป็นการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับพันธกิจอื่นๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น การเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการ และเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากายภาพและภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์ (พื้นที่โซนวัฒนธรรม ประตูวิเวก เรือนธรรม สระเกษตรสนาม พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมการเกษตรไทย และพื้นที่ใกล้เคียง) ให้เป็นพื้นที่ "อัตลักษณ์ วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ (66 ไร่)" คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีภารกิจการบริการวิชาการแก่สังคม นอกเหนือจากภารกิจหลักด้านการเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการดำเนินงานในเชิงบูรณาการด้านการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นเพื่อเป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO) ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาพื้นที่ออกแบบแผนผังเพื่อพัฒนาพื้นที่โซนวัฒนธรรม ได้นำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัยของคณะ จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์ รายวิชา สถ 273 คอมพิวเตอร์ขั้นสูงสำหรับงานสถาปัตยกรรม รายวิชา สถ 321 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นประยุกต์ และรายวิชา สถ 381 ออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม 1 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพื้นที่เชิงวัฒนธรรม ให้เหมาะสมกับการใช้พื้นที่จัดกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO) มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการและงานวิจัยของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม
เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการออกแบบพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผลงานออกแบบพื้นที่ศูนย์เรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลงาน 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการออกแบบพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการบริการวิชาการออกแบบพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรจง  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิศสกุล  อึ้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วรินทร์  กุลินทรประเสริฐ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 10,000.00 บาท 5,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล